สภาพทั่วไปและข้อมูลพื้นฐาน
ส่วนที่ 1 สภาพทั่วไปและข้อมูลพื้นฐาน
⇒ ด้านกายภาพ
1.1 ที่ตั้ง
องค์การบริหารส่วนตำบลหนองนาคำ มีที่ตั้งอยู่ในเขตตำบลหนองนาคำ เป็นตำบลหนึ่งใน 21 ตำบล ของอำเภอเมืองอุดรธานี จังหวัดอุดรธานี
สำนักงานองค์การบริหารส่วนตำบลหนองนาคำ ตั้งอยู่ที่ เลขที่ 1 หมู่ที่ 18 ต.หนองนาคำ อำเภอเมือง จังหวัดอุดรธานี มีเนื้อที่ ประมาณ 110 ตารางกิโลเมตร ห่างจากที่ว่าการอำเภอเมือง 15 กิโลเมตร และห่างจากเมืองหลวง (กรุงเทพมหานคร) ประมาณ 579 กิโลเมตร
1.1.1 อาณาเขต
» ทิศเหนือ จรดกับองค์การบริหารส่วนตำบลสามพร้าว อำเภอเมืองอุดรธานี
» ทิศตะวันออก จรดกับองค์การบริหารส่วนตำบลโพนงาม อำเภอหนองหานและตำบลนาม่วง กิ่งอำเภอประจักษ์ศิลปาคม
» ทิศใต้ จรดกับองค์การบริหารส่วนตำบลหนองไผ่ อำเภอเมืองอุดรธานี
» ทิศคะวันตก จรดกับองค์การบริหารส่วนตำบลหนองขอนกว้าง และตำบลหนองบัว อำเภอเมืองอุดรธานี
แผนที่แสดงที่ตั้งพอสังเขป
เนื้อที่ องค์การบริหารส่วนตำบลหนองนาคำ มีเนื้อที่ประมาณ 110 ตารางกิโลเมตรหรือประมาณ 68,750 ไร่
1.1.2 จำนวนหมู่บ้าน
หมู่บ้านในเขตรับผิดชอบของ อบต.หนองนาคำ ทั้งหมดมี 16 หมู่บ้าน จำนวนหมู่บ้านในเขต อบต.เต็มทั้งหมู่บ้าน 14 หมู่บ้าน ได้แก่
หมู่ที่ 1 บ้านหนองนาคำ
หมู่ที่ 2 บ้านโก่ย
หมู่ที่ 3 บ้านหนองใสในเขต อบต.
หมู่ที่ 4 บ้านหนองหว้า
หมู่ที่ 5 บ้านหนองไผ่
หมู่ที่ 6 บ้านหนองแก
หมู่ที่ 7 บ้านจำปา
หมู่ที่ 8 บ้านถ่อนน้อย
หมู่ที่ 9 บ้านหนองตูม
หมู่ที่ 10 บ้านดอนภู่
หมู่ที่ 11 บ้านนาหวาน
หมู่ที่ 12 บ้านหนองไผ่คำ
หมู่ที่ 15 บ้านโนนสะอาด
หมู่ที่ 18 บ้านโนนกอก
จำนวนหมู่บ้านในเขต อบต.บางส่วน 3 หมู่ ได้แก่หมู่ที่ 13 บ้านดอนหัน, หมู่ที่ 17 บ้านหนองใส 2 และบ้านหนองใส่ในเขต อบต.
1.2 ลักษณะภูมิประเทศ
สภาพโดยทั่วไปพื้นที่ขององค์การบริหารส่วนตำบลหนองนาคำ ส่วนใหญ่เป็นที่ราบลุ่มมีบางส่วนเป็นที่ ตอน ป่าไม้มีสภาพเป็นป่าโปร่งเบญจพรรณ ซึ่งปัจจุบันสภาพของป่าถูกราษฎรบุกรุก จนทำให้สภาพของป่ากลายเป็นป่าเสื่อมโทรม ขาดความอุดมสมบูรณ์ และเหลือพื้นที่ใช้ประโยชน์น้อยมาก แหล่งน้ำมีลำห้วยหลักอยู่ 2 สาย ซึ่งไม่เพียงพอแก่การอุปโภค บริโภคและเพื่อการเกษตร
1.3 ลักษณะภูมิอากาศ
สภาพอากาศขององค์การบริหารส่วนตำบลหนองนาคำ ลักษณะอากาศมีลักษณะร้อนชื้น อากาศเปลี่ยนแปลงไปตามฤดู ซึ่งมี ๓ ฤดู ดังนี้
ฤดูร้อน เริ่มตั้งแต่กลางเดือนกุมภาพันธ์ไปจนถึงกลางเดือนพฤษภาคม อากาศร้อนและแห้งแร้ง แต่บางครั้งอาจมีอากาศเย็น บ้างครั้งเกิดพายุฝนฟ้าคะนองและลมกระโชกแรงหรืออาจมีลูกเห็บตกก่อให้เกิดความเสียหายแก่ประชาชนทุกปี เรียกว่า “พายุฤดูร้อน” อากาศร้อน จะมีอุณหภูมิระหว่าง ๓๕ – ๓๙.๙ องศาเซลเซียส ร้อนจัด มีอุณหภูมิประมาณ ๔๐ องศาเซลเซียสขึ้นไป เดือนที่มีอากาศร้อนอบอ้าวมากที่สุด คือเดือนเมษายน
ฤดูฝน เริ่มตั้งแต่กลางเดือนพฤษภาคม ฝนตกมากในช่วงเดือน พฤษภาคม – ตุลาคม แต่อาจเกิด“ช่วงฝนทิ้ง” ซึ่งอาจนานประมาณ ๑ – ๒ สัปดาห์หรือบางปีอาจเกิดขึ้นรุนแรงและมีฝนน้อยนานนับเดือน ในเดือนกรกฎาคม มีฝนตกเฉลี่ยประมาณ ๙๐๐ มิลลิเมตร
ฤดูหนาว เริ่มตั้งแต่กลางเดือนตุลาคมถึงกลางเดือนกุมภาพันธ์ ในช่วงกลางเดือนตุลาคมนานราว ๑-๒ สัปดาห์ เป็นช่วงเปลี่ยนฤดูจากฤดูฝนเป็นฤดูหนาว อากาศแปรปรวนไม่แน่นอน อาจเริ่มมีอากาศเย็นหรืออาจยังมีฝนฟ้าคะนอง อากาศหนาวอุณภูมิต่ำสุด ประมาณ ๑๕ องศา อากาศหนาวเย็นที่สุดคือ เดือนมกราคม
1.4 ลักษณะของดิน
สภาพของดินขององค์การบริหารส่วนตำบลหนองนาคำ พื้นที่โดยทั่วไปเป็นที่ราบลุ่ม ดินส่วนใหญ่เป็นดินลึก ดินมีการเรียงตัวสลับชั้นกัน ดินบนเป็นดินทรายปนดินร่วนหรือดินร่วนปนทรายและดินลูกรัง สีน้ำตาลหรือสีน้ำตาลปนเทา ทำให้ดินระบายน้ำได้ดี ไม่อุ้มน้ำ ความสมบูรณ์ของแร่ธาตุในพื้นดินมีน้อยมากซึ่งลักษณะเช่นนี้ทำให้ประชาชนใช้ประโยชน์เหมาะแก่การเพาะปลูก ทำนาและอาจเป็นแหล่งทำเกลือ
1.5 ลักษณะของแหล่งน้ำ
สภาพของแหล่งน้ำขององค์การบริหารส่วนตำบลหนองนาคำ ค่อนข้างขาดแคลนน้ำขนาดใหญ่ ซึ่งมีอยู่จะเป็นแหล่งน้ำขนาดกลางและขนาดเล็ก ลำห้วย หนอง และแหล่งน้ำที่สำคัญได้แก่
⇒ ห้วย ส่วนใหญ่มีสภาพตื้นเขิน และไม่มีน้ำไหลในฤดูแล้ง ทำให้ประชากรขาดน้ำใช้ในการเกษตรอย่างต่อเนื่อง ลำห้วยที่มีคือ ลำห้วยเชียงรวงและลำห้วยโสกโปร่ง
⇒ หนองน้ำ มีหนองน้ำสาธารณะอยู่ทั่วไปเกือบทุกหมู่บ้าน แต่ไม่สามารถเก็บน้ำไว้ใช้เพียงพอแก่ความต้องการของประชากรมีแหล่งน้ำที่ใช้สำหรับ อุปโภค-บริโภค จำนวน 3 แห่ง แหล่งน้ำทั้ง 3 แห่งเคยเป็นแหล่งน้ำที่เกิดขึ้นตามธรรมชาติและองค์การบริหารส่วนตำบลหนองนาคำได้ดำเนินการปรับปรุงก่อสร้างขึ้นใหม่เพื่อเพียงพอกับการอุปโภคและบริโภคของประชาชน ดังนี้
ลำห้วย 6 แห่ง สระน้ำ 4 แห่ง
หนองน้ำ 18 แห่ง บ่อน้ำตื้น - แห่ง
ลำคลอง - แห่ง บ่อบาดาล - แห่ง
บึง - แห่ง อ่างเก็บน้ำ - แห่ง
แม่น้ำ - แห่ง ฝาย - แห่ง
อื่นๆ (ระบุ) - แห่ง เหมือง - แห่ง
1.6 ลักษณะของไม้และป่าไม้
สภาพของไม้และป่าไม้ขององค์การบริหารส่วนตำบลหนองนาคำ ทั้งหมดมีพื้นที่ประมาณ 68,750 ไร่ สภาพป่าไม้ส่วนใหญ่เป็นป่าไม้เบญจพรรณ มีสภาพเป็นป่าโปร่ง เนื่องจากถูกราษฎรบุกรุกมาก จึงทำให้สภาพของป่าแทบไม่มีเหลือพันธุ์ไม้ที่จะใช้ประโยชน์ได้ดีมีน้อยมาก ป่าไม้ที่มีในพื้นที่ได้แก่ ป่าสงวนแห่งชาติ ป่าช้าสาธารณะ เป็นต้น
2. ด้านการเมือง/การปกครอง
2.1 เขตการปกครอง
หมู่บ้านในเขตรับผิดชอบขององค์การบริหารส่วนตำบลหนองนาคำ ทั้งหมดมี 16 หมู่บ้าน จำนวนหมู่บ้านในเขต องค์การบริหารส่วนตำบลหนองนาคำเต็มทั้งหมู่บ้าน 14 หมู่บ้าน ได้แก่
หมู่ที่ 1 บ้านหนองนาคำ
หมู่ที่ 2 บ้านโก่ย
หมู่ที่ 3 บ้านหนองใสในเขต อบต.
หมู่ที่ 4 บ้านหนองหว้า
หมู่ที่ 5 บ้านหนองไผ่
หมู่ที่ 6 บ้านหนองแก
หมู่ที่ 7 บ้านจำปา
หมู่ที่ 8 บ้านถ่อนน้อย
หมู่ที่ 9 บ้านหนองตูม
หมู่ที่ 10 บ้านดอนภู่
หมู่ที่ 11 บ้านนาหวาน
หมู่ที่ 12 บ้านหนองไผ่คำ
หมู่ที่ 15 บ้านโนนสะอาด
หมู่ที่ 18 บ้านโนนกอก
จำนวนหมู่บ้านในเขต องค์การบริหารส่วนตำบลหนองนาคำบางส่วน จำนวน 3 หมู่ ได้แก่หมู่ที่ 13 บ้านดอนหัน, หมู่ที่ 17 บ้านหนองใส 2 และบ้านหนองใส 3 ในเขต
2.2 การเลือกตั้ง
2.2.1 การเลือกตั้งสมาชิกสภาองค์การบริหารส่วนตำบลหนองนาคำ
องค์การบริหารส่วนตำบลหนองนาคำแบ่งเขตเลือกตั้งสมาชิกสภาองค์การบริหารส่วนตำบลหนองนาคำ ออกเป็นหน่วยเลือกตั้งในพื้นที่ 16 หมู่บ้าน
- ผู้มีสิทธิเลือกตั้ง จำนวน 10,651 คน
(ข้อมูล ณ 14 ตุลาคม 2555)
- ข้อมูลหน่วยเลือกตั้ง จำนวน 16 หน่วย
3. ประชากร
ข้อมูลเกี่ยวกับจำนวนประชากร
สถิติจำนวนประชากรในเขตองค์การบริหารส่วนตำบลหนองนาคำ ณ เดือนตุลาคม 2559 มีจำนวน16,329 คน เป็นชาย 8,027 คน และหญิง จำนวน 8,302 คน อัตราการเจริญเติบโตของประชากรในพื้นที่เขตองค์การบริหารส่วนตำบลหนองนาคำ มีการเปลี่ยนแปลงจำนวนประชากรเพิ่มขึ้นเพียงเล็กน้อยเท่านั้น ข้อมูลจำนวนประชากรปรากฏตามตารางที่ 3.1.1 โดยประชากรในเขตองค์การบริหารส่วนตำบลหนองนาคำจะอาศัยอยู่อย่างหนาแน่นในหมู่บ้านหนองนาคำ หมู่ที่ 1 ซึ่งเป็นย่านธุรกิจพาณิชย์ในปัจจุบัน จำนวนประชาชนจำแนกตามบ้านและหมู่บ้าน ปรากฏตามตารางที่ 3.1.2
ตารางที่ 3.1.1 แสดงจำนวนประชากรและจำนวนบ้านในเขตองค์การบริหารส่วนตำบลหนองนาคำ ปี 2557-2559
รายการ
|
ปีปัจจุบัน
|
ปีที่แล้ว
|
๒ ปีที่แล้ว
|
|
ประชากรชาย
|
8,027
|
7,939
|
7,771
|
(คน)
|
ประชากรหญิง
|
8,302
|
8,127
|
7,840
|
(คน)
|
รวมประชากร
|
16,329
|
16,066
|
15,551
|
(คน)
|
ครัวเรือน
|
5,223
|
4,404
|
4,651
|
(หลังคาเรือน)
|
* ข้อมูล ณ เดือนตุลาคม 2559 (สวัสดิการ)
ตารางที่ 3.1.2 แสดงจำนวนประชากรจำแนกตามหมู่บ้าน
หมู่บ้าน
|
ครัวเรือน
|
ชาย
|
หญิง
|
รวม
|
ม. 1
|
หนองนาคำ
|
942
|
1,431
|
1,616
|
3,047
|
ม. 2
|
โก่ย
|
396
|
604
|
638
|
1,272
|
ม. 3
|
หนองใส
|
96
|
130
|
160
|
290
|
ม. 4
|
หนองหว้า
|
438
|
768
|
765
|
1,533
|
ม. 5
|
หนองไผ่
|
335
|
565
|
546
|
1,111
|
ม. 6
|
หนองแก
|
272
|
434
|
442
|
876
|
ม. 7
|
จำปา
|
421
|
625
|
637
|
1,262
|
ม. 8
|
ถ่อนน้อย
|
221
|
389
|
352
|
741
|
ม. 9
|
ตูม
|
123
|
267
|
237
|
504
|
ม. 10
|
ดอนภู่
|
682
|
996
|
1,037
|
2,033
|
ม. 11
|
นาหวาน
|
290
|
429
|
439
|
868
|
ม. 12
|
หนองไผ่คำ
|
184
|
232
|
229
|
461
|
ม. 13
|
ดอนหัน
|
153
|
199
|
181
|
380
|
ม. 15
|
โนนสะอาด
|
226
|
363
|
408
|
771
|
ม. 17
|
หนองใส 2
|
248
|
292
|
319
|
611
|
ม. 18
|
โนนกอก
|
196
|
303
|
296
|
599
|
รวม
|
5,223
|
8,027
|
8,302
|
16,329
|
* ข้อมูล ณ เดือนตุลาคม 2559 (รพสต.หนองนาคำ)
ตาราง แสดงจํานวนประชากรแยกตามช่วงอายุในเขตองค์การบริหารส่วนตำบลหนองนาคำ (พ.ศ.2559)
กลุ่มอายุ
|
จำนวนประชากร
|
ชาย
|
หญิง
|
รวม
|
น้อยกว่า 1 ปี
|
53
|
64
|
117
|
1 – 4 ปี
|
329
|
366
|
695
|
5 – 9 ปี
|
475
|
477
|
952
|
10 – 14 ปี
|
490
|
472
|
962
|
15 – 19 ปี
|
555
|
587
|
1,142
|
20 – 24 ปี
|
611
|
632
|
1,243
|
25 – 29 ปี
|
579
|
567
|
1,146
|
30 – 34 ปี
|
507
|
539
|
1,046
|
35 – 39 ปี
|
509
|
628
|
1,137
|
40 – 44 ปี
|
627
|
647
|
1,284
|
45 – 49 ปี
|
546
|
548
|
1,094
|
50 – 54 ปี
|
458
|
484
|
942
|
55 – 59 ปี
|
349
|
367
|
716
|
60 – 64 ปี
|
251
|
293
|
544
|
65 – 69 ปี
|
222
|
210
|
432
|
70 – 74 ปี
|
118
|
133
|
251
|
75 – 79 ปี
|
65
|
82
|
147
|
80 – 84 ปี
|
40
|
52
|
92
|
85 ปีขึ้นไป
|
20
|
32
|
52
|
* ข้อมูล ณ เดือนตุลาคม 2559 (รพสต.หนองนาคำ)
ประชากรผู้สูงอายุ
ประชากรผู้สูงอายุ ผู้สูงอายุ เป็นวัยซึ่งมีความแตกต่างจากวัยอื่น เป็นวัยบั้นปลายของชีวิต ดังนั้น ปัญหาของ ผู้สูงอายุในทุกด้าน โดยเฉพาะด้านสังคมและสาธารณสุข จึงแตกต่างจากคนในวัยอื่น ปัจจุบันจํานวน ผู้สูงอายุเพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่องทั้งในประเทศไทยและทั่วโลก ซึ่งรัฐบาลไทยและทั่วโลกได้ตระหนักถึง ความสําคัญในเรื่องนี้ จึงมีความพยายามและมีการรณรงคอย่างต่อเนื่องให้ทุกคน ตระหนัก เข้าใจ และ พร้อมดูแลผู้สูงอายุให้ทัดเทียมเช่นเดียวกับการดูแลประชากรในกลุ่มอายุอื่น สําหรับประเทศไทย "ผู้สูงอายุ" ตามพระราชบัญญัติผู้สูงอายุ พ.ศ.2546 หมายความว่า บุคคล ซึ่งมีอายุเกินกว่าหกสิบปีบริบูรณขึ้นไป และมีสัญชาติไทย ประชากรในองค์การบริหารส่วนตำบลหนองนาคำ
พ.ศ.
|
ประชากรใน
|
ผู้สูงอายุ
|
คิดเป็นร้อยละ
|
อบต.หนองนาคำ
|
ใน อบต.หนองนาคำ
|
2556
|
13,058
|
1,197
|
9.16
|
2557
|
13,190
|
1,273
|
9.65
|
2558
|
13,387
|
1,413
|
10.55
|
2559
|
16,329
|
1,518
|
9.29
|
4.1 การศึกษา
องค์การบริหารส่วนตำบลหนองนาคำได้ให้ความสำคัญกับการศึกษาของประชาชนโดย ได้กำหนดภารกิจทางด้านการศึกษาของเทศบาล ประกอบด้วยภารกิจ 5 ด้าน ดังนี้
1. การจัดการศึกษาปฐมวัย
2. การจัดการศึกษาขั้นพื้นฐาน
3. การจัดบริการให้ความรู้ด้านอาชีพ
4. การจัดการส่งเสริมกีฬา นันทนาการและกิจกรรมเด็กเยาวชน
5. การดำเนินงานด้านศาสนา ศิลปวัฒนธรรม จารีตประเพณีและภูมิปัญญาท้องถิ่น
องค์การบริหารส่วนตำบลหนองนาคำ มีโรงเรียนในสังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขึ้นพื้นฐาน(สพฐ.) จำนวน 6 โรงเรียน และมีศูนย์พัฒนาเด็กเล็กในสังกัด จำนวน 5 ศูนย์ ประกอบด้วย
โรงเรียนในสังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขึ้นพื้นฐาน(สพฐ.) จำนวน 6 โรงเรียน
ลำดับ
|
ชื่อสถานศึกษา
|
จำนวนนักเรียน
|
รวม
|
(โรงเรียน)
|
อนุบาล 1
|
อนุบาล 2
|
อนุบาล 3
|
ป.1
|
ป.2
|
ป.3
|
ป.4
|
ป.5
|
ป.6
|
|
ช
|
ญ
|
ช
|
ญ
|
ช
|
ญ
|
ช
|
ญ
|
ช
|
ญ
|
ช
|
ญ
|
ช
|
ญ
|
ช
|
ญ
|
ช
|
ญ
|
1
|
ถ่อนน้อย – หนองไผ่คำ
|
6
|
7
|
10
|
6
|
-
|
-
|
6
|
5
|
4
|
5
|
5
|
6
|
8
|
10
|
7
|
4
|
8
|
7
|
104
|
2
|
บ้านจำปาประชานุเคราะห์
|
9
|
3
|
7
|
4
|
-
|
-
|
7
|
7
|
5
|
5
|
5
|
11
|
4
|
9
|
7
|
7
|
7
|
10
|
107
|
3
|
บ้านหนองนาคำ
|
23
|
26
|
27
|
20
|
-
|
-
|
20
|
26
|
24
|
18
|
27
|
24
|
28
|
39
|
17
|
26
|
34
|
35
|
414
|
4
|
บ้านหนองแก
|
1
|
3
|
3
|
4
|
-
|
-
|
3
|
2
|
6
|
2
|
4
|
5
|
1
|
6
|
1
|
4
|
6
|
8
|
59
|
5
|
บ้านโก่ย
|
-
|
-
|
6
|
6
|
6
|
8
|
8
|
7
|
3
|
7
|
6
|
13
|
9
|
5
|
8
|
5
|
11
|
6
|
117
|
6
|
บ้านหนองหว้าหนองไผ่
|
7
|
10
|
4
|
11
|
|
|
4
|
6
|
10
|
13
|
5
|
12
|
13
|
4
|
14
|
13
|
10
|
11
|
147
|
รวมทั้งสิ้น
|
948
|
* ข้อมูล ณ วันที่ 16 มิถุนายน 2559 (กองการศึกษา)
ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กในสังกัด จำนวน 5 ศูนย์
ลำดับ
|
ศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก
|
ครูผู้ดูแลเด็ก
|
จำนวนนักเรียน
|
รวม
|
(คน)
|
ชาย
|
หญิง
|
1
|
ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านหนองนาคำ
|
3
|
24
|
28
|
52
|
2
|
ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านหนองไผ่
|
3
|
26
|
26
|
52
|
3
|
ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านโก่ย
|
3
|
29
|
29
|
58
|
4
|
ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านถ่อนน้อย-หนองไผ่คำ
|
3
|
18
|
22
|
40
|
5
|
ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านนาหวาน
|
2
|
15
|
20
|
35
|
รวมทั้งสิ้น
|
237
|
* ข้อมูล ณ วันที่ 16 มิถุนายน 2559 (กองการศึกษา)
จากการสำรวจข้อมูลพื้นฐานพบว่า ประชาชนกรส่วนมากมีสุขภาพที่ดี มีการคัดกรองสุขภาพให้กับประชาชนกลุ่มเสี่ยง โรคที่มักเกิดแก่ประชากรในชุมชน เช่นกัน ได้แก่ โรคความดัน เบาหวาน โรคเอดส์ โรคไข้เลือดออก มือ-ปาก-เท้าในเด็ก และโรคอื่นๆ อีกมาก มีสถิติเข้ารับการรักษาพยาบาล ปัญหาคือประชาชนบางรายไม่ยอมไปคัดกรองหรือตรวจสุขภาพประจำปี การแก้ไขปัญหา คือ องค์การบริหารส่วนตำบลหนองนาคำและหน่วยงานสาธารณสุข โรงพยาบาล ได้จัดกิจกรรมร่วมมือกันรณรงค์ให้ชุมชนเห็นความสำคัญในเรื่องนี้ซึ่งก็ได้ผลในระดับหนึ่ง ประชาชนให้ความร่วมมือเป็นอย่างดี แต่ต้องเป็นการดำเนินการอย่างต่อเนื่องเป็นประจำทุกปี จากการสำรวจข้อมูลพื้นฐาน บางครัวเรือนไม่ได้กินอาหารที่ถูกสุขลักษณะ การใช้ยาเพื่อบำบัดอาการเจ็บป่วยที่ไม่เหมาะสม การออกกำลังกายยังไม่สม่ำเสมอ และประชากรส่วนมากไม่ได้รับการตรวจสุขภาพ ปัญหาเหล่านี้องค์การบริหารส่วนตำบลหนองนาคำพยายามอย่างยิ่งที่จะแก้ไข โดยร่วมมือกับโรงพยาบาล สาธารณสุข จัดกิจกรรมเพื่อแก้ไขปัญหา
โรงพยาบาลในเขตพื้นที่ สังกัดกระทรวงสาธารณสุข จำนวน 2 แห่ง ได้แก่
1. โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพประจำตำบลบ้านหนองนาคำ
2. โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพประจำตำบลบ้านหนองใส
4.3 อาชญากรรม
องค์การบริหารส่วนตำบลหนองนาคำไม่มีเหตุอาชญากรรมเกิดขึ้น แต่มีเหตุการณ์ลักขโมยทรัพย์สินประชาชน และทำลายทรัพย์สินของราชการ ซึ่งองค์การบริหารส่วนตำบลหนองนาคำก็ได้ดำเนินการป้องกันการเกิดเหตุดังกล่าว จากการสำรวจข้อมูลพื้นฐานพบว่า ส่วนมากครัวเรือนมีการป้องกันอุบัติภัยอย่างถูกวิธี มีความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน วิธีการแก้ปัญหาขององค์การบริหารส่วนตำบลหนองนาคำที่สามารถดำเนินการได้ตามอำนาจหน้าที่และงบประมาณที่มีอยู่อย่างจำกัด คือการติดตั้งกล้องวงจรปิดในจุดที่เป็นที่สาธารณะ ติดตั้งสัญญาณไฟกระพริบทางร่วมทางแยก ติดตั้งกระจกตามแยก รวมทั้งได้ตั้งจุดตรวจ จุดสกัด จุดบริการ ในช่วงเทศกาลที่มีวันหยุดหลายวันเพื่ออำนวยความสะดวกให้กับประชาชน แต่ปัญหาที่พบเป็นประจำคือการทะเลาะวิวาทของกลุ่มวัยรุ่นโดยเฉพาะในสถานที่จัดงานดนตรี งานมหรสพ เป็นปัญหาที่ชุมชนได้รับผลกระทบเป็นอย่างมาก การแก้ไขปัญหา คือการแจ้งเตือนให้ผู้ปกครองดูแลบุตรหลานของตน ประชาสัมพันธ์ให้ทราบถึงผลกระทบ ผลเสียหาย และโทษที่ได้รับจากการเกิดเหตุทะเลาะวิวาท การขอความร่วมมือไปยังผู้นำ การขอกำลังจาก ตำรวจ ผู้นำ อปพร. เพื่อระงับเหตุไม่ให้เกิดความรุ่นแรง แต่จะไม่ให้เกิดขึ้นเลยยังเป็นปัญหาที่ปัจจุบันไม่สามารถที่จะแก้ไขได้ ทั้งที่มีการร่วมมือกันหลายฝ่าย เป็นเรื่องที่ทางองค์การบริหารส่วนตำบลหนองนาคำจะต้องหาวิธีที่จะแก้ไขปัญหาให้กับประชาชนต่อไปตามอำนาจหน้าที่ที่สามารถดำเนินการได้
4.4 ยาเสพติด
ปัญหายาเสพติดในชุมชนของเทศบาล จากการที่ทางสถานีตำรวจภูธรอุดรธานีได้แจ้งให้กับองค์การบริหารส่วนตำบลหนองนาคำทราบนั้นพบว่าในเขตองค์การบริหารส่วนตำบลหนองนาคำมีผู้ที่ติดยาเสพติดแต่เมื่อเทียบกับพื้นที่อื่นถือว่าน้อย และยังไม่พบผู้ค้า เหตุผลก็เนื่องมาจากว่าได้รับความร่วมมือกับทางผู้นำ ประชาชน หน่วยงานขององค์การบริหารส่วนตำบลหนองนาคำที่ช่วยสอดส่องดูแลอยู่เป็นประจำ การแก้ไขปัญหาขององค์การบริหารส่วนตำบลหนองนาคำสามารถทำได้เฉพาะตามอำนาจหน้าที่เท่านั้น เช่น การณรงค์ การประชาสัมพันธ์ การแจ้งเบาะแส การฝึกอบรมให้ความรู้ ถ้านอกเหนือจากอำนาจหน้าที่ ก็เป็นเรื่องของอำเภอหรือตำรวจแล้วแต่กรณี ทั้งนี้ องค์การบริหารส่วนตำบลหนองนาคำก็ได้ให้ความร่วมมือมาโดยตลอด
4.2 สาธารณสุข
จากการสำรวจข้อมูลพื้นฐานพบว่า ประชาชนกรส่วนมากมีสุขภาพที่ดี มีการคัดกรองสุขภาพให้กับประชาชนกลุ่มเสี่ยง โรคที่มักเกิดแก่ประชากรในชุมชน เช่นกัน ได้แก่ โรคความดัน เบาหวาน โรคเอดส์ โรคไข้เลือดออก มือ-ปาก-เท้าในเด็ก และโรคอื่นๆ อีกมาก มีสถิติเข้ารับการรักษาพยาบาล ปัญหาคือประชาชนบางรายไม่ยอมไปคัดกรองหรือตรวจสุขภาพประจำปี การแก้ไขปัญหา คือ องค์การบริหารส่วนตำบลหนองนาคำและหน่วยงานสาธารณสุข โรงพยาบาล ได้จัดกิจกรรมร่วมมือกันรณรงค์ให้ชุมชนเห็นความสำคัญในเรื่องนี้ซึ่งก็ได้ผลในระดับหนึ่ง ประชาชนให้ความร่วมมือเป็นอย่างดี แต่ต้องเป็นการดำเนินการอย่างต่อเนื่องเป็นประจำทุกปี จากการสำรวจข้อมูลพื้นฐาน บางครัวเรือนไม่ได้กินอาหารที่ถูกสุขลักษณะ การใช้ยาเพื่อบำบัดอาการเจ็บป่วยที่ไม่เหมาะสม การออกกำลังกายยังไม่สม่ำเสมอ และประชากรส่วนมากไม่ได้รับการตรวจสุขภาพ ปัญหาเหล่านี้องค์การบริหารส่วนตำบลหนองนาคำพยายามอย่างยิ่งที่จะแก้ไข โดยร่วมมือกับโรงพยาบาล สาธารณสุข จัดกิจกรรมเพื่อแก้ไขปัญหา
โรงพยาบาลในเขตพื้นที่ สังกัดกระทรวงสาธารณสุข จำนวน 2 แห่ง ได้แก่
1. โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพประจำตำบลบ้านหนองนาคำ
2. โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพประจำตำบลบ้านหนองใส
4.3 อาชญากรรม
องค์การบริหารส่วนตำบลหนองนาคำไม่มีเหตุอาชญากรรมเกิดขึ้น แต่มีเหตุการณ์ลักขโมยทรัพย์สินประชาชน และทำลายทรัพย์สินของราชการ ซึ่งองค์การบริหารส่วนตำบลหนองนาคำก็ได้ดำเนินการป้องกันการเกิดเหตุดังกล่าว จากการสำรวจข้อมูลพื้นฐานพบว่า ส่วนมากครัวเรือนมีการป้องกันอุบัติภัยอย่างถูกวิธี มีความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน วิธีการแก้ปัญหาขององค์การบริหารส่วนตำบลหนองนาคำที่สามารถดำเนินการได้ตามอำนาจหน้าที่และงบประมาณที่มีอยู่อย่างจำกัด คือการติดตั้งกล้องวงจรปิดในจุดที่เป็นที่สาธารณะ ติดตั้งสัญญาณไฟกระพริบทางร่วมทางแยก ติดตั้งกระจกตามแยก รวมทั้งได้ตั้งจุดตรวจ จุดสกัด จุดบริการ ในช่วงเทศกาลที่มีวันหยุดหลายวันเพื่ออำนวยความสะดวกให้กับประชาชน แต่ปัญหาที่พบเป็นประจำคือการทะเลาะวิวาทของกลุ่มวัยรุ่นโดยเฉพาะในสถานที่จัดงานดนตรี งานมหรสพ เป็นปัญหาที่ชุมชนได้รับผลกระทบเป็นอย่างมาก การแก้ไขปัญหา คือการแจ้งเตือนให้ผู้ปกครองดูแลบุตรหลานของตน ประชาสัมพันธ์ให้ทราบถึงผลกระทบ ผลเสียหาย และโทษที่ได้รับจากการเกิดเหตุทะเลาะวิวาท การขอความร่วมมือไปยังผู้นำ การขอกำลังจาก ตำรวจ ผู้นำ อปพร. เพื่อระงับเหตุไม่ให้เกิดความรุ่นแรง แต่จะไม่ให้เกิดขึ้นเลยยังเป็นปัญหาที่ปัจจุบันไม่สามารถที่จะแก้ไขได้ ทั้งที่มีการร่วมมือกันหลายฝ่าย เป็นเรื่องที่ทางองค์การบริหารส่วนตำบลหนองนาคำจะต้องหาวิธีที่จะแก้ไขปัญหาให้กับประชาชนต่อไปตามอำนาจหน้าที่ที่สามารถดำเนินการได้
4.4 ยาเสพติด
ปัญหายาเสพติดในชุมชนของเทศบาล จากการที่ทางสถานีตำรวจภูธรอุดรธานีได้แจ้งให้กับองค์การบริหารส่วนตำบลหนองนาคำทราบนั้นพบว่าในเขตองค์การบริหารส่วนตำบลหนองนาคำมีผู้ที่ติดยาเสพติดแต่เมื่อเทียบกับพื้นที่อื่นถือว่าน้อย และยังไม่พบผู้ค้า เหตุผลก็เนื่องมาจากว่าได้รับความร่วมมือกับทางผู้นำ ประชาชน หน่วยงานขององค์การบริหารส่วนตำบลหนองนาคำที่ช่วยสอดส่องดูแลอยู่เป็นประจำ การแก้ไขปัญหาขององค์การบริหารส่วนตำบลหนองนาคำสามารถทำได้เฉพาะตามอำนาจหน้าที่เท่านั้น เช่น การณรงค์ การประชาสัมพันธ์ การแจ้งเบาะแส การฝึกอบรมให้ความรู้ ถ้านอกเหนือจากอำนาจหน้าที่ ก็เป็นเรื่องของอำเภอหรือตำรวจแล้วแต่กรณี ทั้งนี้ องค์การบริหารส่วนตำบลหนองนาคำก็ได้ให้ความร่วมมือมาโดยตลอด
4.5 การสังคมสงเคราะห์
องค์การบริหารส่วนตำบลหนองนาคำได้ดำเนินการด้านสังคมสังเคราะห์ ดังนี้
๑.ดำเนินการจ่ายเบี้ยยังชีพให้กับผู้สูงอายุ ผู้พิการ และผู้ป่วยเอดส์
๒. รับลงทะเบียนและประสานโครงการเงินอุดหนุนเพื่อการเลี้ยงดูเด็กแรกเกิด
๓. ประสานการทำบัตรผู้พิการ
๔. ตั้งโครงการการจ้างนักเรียน/นักศึกษาทำงานช่วงปิดภาคเรียน
๕. ตั้งโครงการช่วยเหลือผู้ยากจน ยากไร้ รายได้น้อย และผู้ด้อยโอกาสไร้ที่พึ่ง
๖. ตั้งโครงการปรับปรุงซ่อมแซมบ้านคนจน
5. ระบบบริการพื้นฐาน
5.1 การคมนาคมขนส่ง
หมู่ที่ 1 มีถนนภายในหมู่บ้าน 4 สาย ความยาวประมาณ 4,850 เมตร
หมู่ที่ 2 มีถนนภายในหมู่บ้าน 4 สาย ความยาวประมาณ 8,650 เมตร
หมู่ที่ 3 มีถนนภายในหมู่บ้าน 3 สาย ความยาวประมาณ 1,000 เมตร
หมู่ที่ 4 มีถนนภายในหมู่บ้าน 5 สาย ความยาวประมาณ 6,360 เมตร
หมู่ที่ 5 มีถนนภายในหมู่บ้าน 4 สาย ความยาวประมาณ 6,715 เมตร
หมู่ที่ 6 มีถนนภายในหมู่บ้าน 3 สาย ความยาวประมาณ 4,710 เมตร
หมู่ที่ 7 มีถนนภายในหมู่บ้าน 3 สาย ความยาวประมาณ 5,420 เมตร
หมู่ที่ 8 มีถนนภายในหมู่บ้าน 4 สาย ความยาวประมาณ 2,846 เมตร
หมู่ที่ 9 มีถนนภายในหมู่บ้าน 3 สาย ความยาวประมาณ 1,530 เมตร
หมู่ที่ 10 มีถนนภายในหมู่บ้าน 3 สาย ความยาวประมาณ 8,750 เมตร
หมู่ที่ 11 มีถนนภายในหมู่บ้าน 3 สาย ความยาวประมาณ 1,093 เมตร
หมู่ที่ 12 มีถนนภายในหมู่บ้าน 3 สาย ความยาวประมาณ 4,110 เมตร
หมู่ที่ 13 มีถนนภายในหมู่บ้าน 2 สาย ความยาวประมาณ 3,833 เมตร
หมู่ที่ 15 มีถนนภายในหมู่บ้าน 3 สาย ความยาวประมาณ 1,800 เมตร
หมู่ที่ 17 มีถนนภายในหมู่บ้าน 2 สาย ความยาวประมาณ 7,300 เมตร
หมู่ที่ 18 มีถนนภายในหมู่บ้าน 2 สาย ความยาวประมาณ 5,434 เมตร
- สภาพการคมนาคมทางบก การติดต่อระหว่างหมู่บ้านสามารถติดต่อกันได้ทุกหมู่บ้าน สามารถติดต่อกับอำเภอเมืองอุดรธานีและอำเภอใกล้เคียงได้
5.2 การไฟฟ้า
การขยายเขตไฟฟ้าในเขตองค์การบริหารส่วนตำบลหนองนาคำปัจจุบันมีไฟฟ้าใช้ทุกครัวเรือน คิดเป็น ๑๐๐ เปอร์เซ็นต์ประชาชนได้รับการบริการจ่ายกระแสไฟฟ้าจากการไฟฟ้าส่วนภูมิภาค สถานีอำเภอเมืองอุดรธานี เพื่อการใช้กระแสไฟฟ้าภายในครัวเรือน และการประกอบกิจการต่างๆ ครัวเรือนที่มีไฟฟ้าใช้ทุกครัวเรือน ปัญหาคือไฟฟ้าส่องสว่างทางหรือที่สาธารณะยังไม่สามารถดำเนินการครอบคลุมพื้นที่ได้ทั้งหมด เนื่องจากพื้นที่ที่มีความต้องการให้ติดตั้งไฟฟ้าส่องสว่างนั้นยังไม่เป็นที่สาธารณะ องค์การบริหารส่วนตำบลหนองนาคำจึงไม่สามารถดำเนินการได้เช่นเดียวกับถนน การแก้ปัญหาคือ ประสานความร่วมมือกันในหลายๆ ฝ่าย เพื่อที่จะทำความเข้าใจกับประชาชนในพื้นที่ และวิธีการที่จะดำเนินการแก้ไขอย่างไร ทั้งนี้ องค์การบริหารส่วนตำบลหนองนาคำได้ตั้งงบประมาณในส่วนนี้ไว้แล้ว และได้แจ้งประชาสัมพันธ์ให้ประชาชนได้รับทราบถึงเหตุผลเพื่อที่จะได้ช่วยกันแก้ไขปัญหาให้กับชุมชน ปัจจุบันในเขตเทศบาลมีไฟฟ้าใช้ ดังนี้
(๑) จำนวนครัวเรือนที่ใช้ไฟฟ้า 5,223 หลังคาเรือน
5.3 การประปา
ครัวเรือนส่วนใหญ่ในเขตองค์การบริหารส่วนตำบลหนองนาคำรับบริการน้ำประปาของแต่ละหมู่บ้านและบางส่วนรับบริการน้ำประปาของการประปาส่วนภูมิภาค สำนักงานอำเภอเมืองอุดรธานี โดยมีแหล่งน้ำดิบสำหรับผลิตน้ำประปาในแต่ละหมู่บ้านเป็นแหล่งน้ำผิวดิน
5.4 โทรศัพท์
ทำการไปรษณีย์โทรเลข (ย่อย) จำนวน 1 แห่ง
ตู้โทรศัพท์สาธารณะ จำนวน 14 แห่ง
หมู่ที่ 1 จำนวน 2 แห่ง
หมู่ที่ 2 จำนวน 1 แห่ง
หมู่ที่ 4 จำนวน 1 แห่ง
หมู่ที่ 5 จำนวน 2 แห่ง
หมู่ที่ 6 จำนวน 1 แห่ง
หมู่ที่ 7 จำนวน 1 แห่ง
หมู่ที่ 8 จำนวน 1 แห่ง
หมู่ที่ 9 จำนวน 1 แห่ง
หมู่ที่ 10 จำนวน 1 แห่ง
หมู่ที่ 11 จำนวน 1 แห่ง
หมู่ที่ 12 จำนวน 1 แห่ง
หมู่ที่ 15 จำนวน 1 แห่ง
5.5 ไปรษณีย์หรือการสื่อสารหรือการขนส่ง และวัสดุ ครุภัณฑ์
ไปรษณีย์หรือการสื่อสาร - แห่ง
6. ระบบเศรษฐกิจ
6.1 การเกษตร
องค์การบริหารส่วนตำบลหนองนาคำ มีจำนวนครัวเรือนเกษตรกรทั้งสิ้น 5,223 ครัวเรือน มีประชากรที่ประกอบ อาชีพเกษตรกรจำนวน คน และมีพื้นที่ทำการเกษตร จำนวน 54,536 ไร่ พืชเศรษฐกิจขององค์การบริหารส่วนตำบลหนองนาคำ ได้แก่ ข้าวเหนียวนาปี อ้อย ข้าวเจ้านาปีและมันสำปะหลัง และพืชต่างๆ เป็นต้น
6.2 การประมง
การประมงขององค์การบริหารส่วนตำบลหนองนาคำ ส่วนใหญ่จะเป็นประมงเพื่อยังชีพหรือประมงขนาดเล็ก เรียกอีกอย่างว่า ประมงพื้นบ้าน โดยทั่วไปแล้วใช้เรือพื้นบ้านในการออกหาเพื่อประกอบอาหาร สร้างรายได้ภายในองค์การบริหารส่วนตำบลหนองนาคำ
6.3 การปศุสัตว์
สัตว์เศรษฐกิจขององค์การบริหารส่วนตำบลหนองนาคำ ได้แก่ สุกร โคเนื้อ ไก่พื้นเมือง ไข่ไก่และไก่เนื้อ ได้แก่
- ฟาร์มเลี้ยงหมู 2 แห่ง
- ฟาร์มเลี้ยงไก่ 1 แห่ง
- ฟาร์มเลี้ยงปลา
6.4 การบริการ
- ร้านเสริมสวย
- ร้านอาหารตามสั่ง
- ร้านซ่อมรถยนต์,จักรยานยนต์
- ร้านขายหีบศพ
- ร้านกระจกอลูมิเนียม
- ร้านขายของชำ/ขายส่ง
- ร้านขายเฟอร์นิเจอร์
- ร้านขายอุปกรณ์ก่อสร้าง
- ปั้มน้ำมัน
- บริการห้องพัก รีสอร์ท เกสต์เฮาส์ จำนวน 18 แห่ง
6.5 การท่องเที่ยว
ในเขตองค์การบริหารส่วนตำบลหนองนาคำ ไม่มีแหล่งท่องเที่ยวแต่ได้ส่งเสริมการท่องเที่ยวให้เกิดขึ้นในชุมชน เช่น การจัดงานประเพณีต่างๆ การจัดสร้างสวนสาธารณะสำหรับใช้พักผ่อนหย่อนใจ
6.6 อุตสาหกรรม
เป็นการประกอบอุตสาหกรรมขนาดย่อม เช่น โรงสีข้าว โรงกลึง โรงงานซ่อมรถยนต์ โรงงานเฟอร์นิเจอร์และการเย็บเสื้อผ้าซึ่งจำแนกได้ดังต่อไปนี้
- บจก. ศรีตังแอโกนิก 1 แห่ง
- บจก. วงศ์บัณฑิต อุดรธานี 1 แห่ง
- บจก. วงศ์บัณฑิต 1 แห่ง
- โรงหล่อจุฑามาศ 1 แห่ง
- โรงหล่อหนองแก 1 แห่ง
- โรงงานผลิตถังพลาสติก 1 แห่ง
- โรงกลึง 1 แห่ง
- โรงงานน้ำแข็ง 2 แห่ง
- โรงงานน้ำดื่ม 3 แห่ง
- โรงงานเฟอร์นิเจอร์ 2 แห่ง
- โรงขนมจีน 3 แห่ง
- โรงงานผลิตปลาร้า 1 แห่ง
- โรงไฟฟ้าบัวสมหมายไบโอเมส 1 แห่ง
- 7 การพาณิชย์และกลุ่มอาชีพ
การพาณิชย์
- สถานีบริการน้ำมัน 1 แห่ง
- บริษัทมหาชนจำกัด 3 แห่ง
- ธุรกิจร้านค้าปลีก 32 แห่ง
- ธุรกิจร้านวัสดุก่อสร้าง 2 แห่ง
- ตลาดสด 15 แห่ง
กลุ่มอาชีพ
- กลุ่มทอผ้าโบราณบ้านโนนกอก
6.8 แรงงาน
จากการสำรวจข้อมูลพื้นฐานพบว่าด้านแรงงานของประชากรตำบลหนองนาคำ ประชากรที่มีอายุ
๑๕ – ๖๐ ปี อยู่ในกำลังแรงงาน ส่วนใหญ่ทำงานในภาคเกษตรกรรมและรับเหมาก่อสร้าง อีกส่วนหนึ่งประชากรอายุระหว่าง ๒๕ – ๕๐ ปี บางส่วน ไปรับจ้างทำงานนอกพื้นที่ รวมทั้งแรงงานที่ไปทำงานต่างประเทศประชาชนตำบลหนองนาคำ ปัญหาที่พบคือ ประชากรต้องไปทำงานนอกพื้นที่ในเมืองที่มีโรงงานอุตสาหกรรม บริษัท ห้างร้านใหญ่ๆ เพราะในพื้นที่ไม่มีโรงงานอุตสาหกรรมที่มีการจ้างแรงงานเยอะ เพราะพื้นที่ส่วนมากเป็นที่อยู่อาศัย ปัญหานี้ยังไม่สามารถแก้ไขได้
อย่างไรก็ตามการว่างงานในตำบลหนองนาคำ ส่วนหนึ่งเป็นเพราะงานไม่ตรงตามที่ตนเองชอบหรือ
อยากทำ บางคนว่างงานเพราะไม่อยากทำงานเนื่องจากถึงแม้ไม่ทำงานแต่ฐานะทางเศรษฐกิจของครอบครัวดีอยู่แล้วไม่มีความเดือนร้อน
7. เศรษฐกิจพอเพียงท้องถิ่น(ด้านการเกษตรและแหล่งน้ำ)
7.1 ข้อมูลพื้นฐานของหมู่บ้านหรือชุมชน
องค์การบริหารส่วนตำบลหนองนาคำ แบ่งเขตทั้งหมดมี 16 หมู่บ้าน หมู่บ้านในเขตรับผิดชอบ
แบ่งเป็น 14 หมู่บ้าน ได้แก่
หมู่ที่ 1 บ้านหนองนาคำ
หมู่ที่ 2 บ้านโก่ย
หมู่ที่ 3 บ้านหนองใสในเขต อบต.
หมู่ที่ 4 บ้านหนองหว้า
หมู่ที่ 5 บ้านหนองไผ่
หมู่ที่ 6 บ้านหนองแก
หมู่ที่ 7 บ้านจำปา
หมู่ที่ 8 บ้านถ่อนน้อย
หมู่ที่ 9 บ้านหนองตูม
หมู่ที่ 10 บ้านดอนภู่
หมู่ที่ 11 บ้านนาหวาน
หมู่ที่ 12 บ้านหนองไผ่คำ
หมู่ที่ 15 บ้านโนนสะอาด
หมู่ที่ 18 บ้านโนนกอก
(1) หมู่ที่ 1 บ้านหนองนาคำ
มีพื้นที่ทั้งหมด 7,622 ไร่
ประเภทของการทำการเกษตร
|
จำนวน
|
ผลผลิตเฉลี่ย
(กก./ไร่)
|
ต้นทุนการผลิตเฉลี่ย
(บาท/ไร่)
|
ราคาขายโดยเฉลี่ย
(บาท/ไร่)
|
2.1) ทำนา
|
¨ ในเขตชลประทาน
|
ครัวเรือน
ไร่
|
กก./ไร่
|
บาท/ไร่
|
บาท/ไร่
|
þ นอกเขตชลประทาน
|
400 ครัวเรือน
8,100 . ไร่
|
450 กก./ไร่
|
5,000 บาท/ไร่
|
5,000 บาท/ไร่
|
2.2) ทำสวน
|
สวน พืชผัก .
|
4 ครัวเรือน
4 ไร่
|
กก./ไร่
|
บาท/ไร่
|
บาท/ไร่
|
สวน .
|
ครัวเรือน
ไร่
|
กก./ไร่
|
บาท/ไร่
|
บาท/ไร่
|
สวน .
|
ครัวเรือน
ไร่
|
กก./ไร่
|
บาท/ไร่
|
บาท/ไร่
|
สวน .
|
ครัวเรือน
ไร่
|
กก./ไร่
|
บาท/ไร่
|
บาท/ไร่
|
2.3) ทำไร่
|
þ ไร่อ้อย
|
3 ครัวเรือน
24 ไร่
|
กก./ไร่
|
บาท/ไร่
|
บาท/ไร่
|
þ ไร่ข้าวโพด
|
4 ครัวเรือน
4 ไร่
|
กก./ไร่
|
บาท/ไร่
|
บาท/ไร่
|
þ ไร่มันสำปะหลัง
|
2 ครัวเรือน
3.5 ไร่
|
กก./ไร่
|
บาท/ไร่
|
บาท/ไร่
|
¨ อื่นๆ โปรดระบุ
.
|
6 ครัวเรือน
20 ไร่
|
กก./ไร่
|
บาท/ไร่
|
บาท/ไร่
|
2.4) อื่นๆ
|
¨ อื่นๆ โปรดระบุ
.
|
ครัวเรือน
ไร่
|
กก./ไร่
|
บาท/ไร่
|
บาท/ไร่
|
(2) หมู่ที่ 2 บ้านโก่ย
มีพื้นที่ทั้งหมด 3,750 ไร่
ประเภทของการทำการเกษตร
|
จำนวน
|
ผลผลิตเฉลี่ย
(กก./ไร่)
|
ต้นทุนการผลิตเฉลี่ย
(บาท/ไร่)
|
ราคาขายโดยเฉลี่ย
(บาท/ไร่)
|
2.1) ทำนา
|
¨ ในเขตชลประทาน
|
ครัวเรือน
ไร่
|
กก./ไร่
|
บาท/ไร่
|
บาท/ไร่
|
þ นอกเขตชลประทาน
|
139 ครัวเรือน
2,020.7 . ไร่
|
360 กก./ไร่
|
1,750 บาท/ไร่
|
2,160 บาท/ไร่
|
2.2) ทำสวน
|
สวน .
|
4 ครัวเรือน
4 ไร่
|
กก./ไร่
|
บาท/ไร่
|
บาท/ไร่
|
สวน .
|
ครัวเรือน
ไร่
|
กก./ไร่
|
บาท/ไร่
|
บาท/ไร่
|
สวน .
|
ครัวเรือน
ไร่
|
กก./ไร่
|
บาท/ไร่
|
บาท/ไร่
|
สวน .
|
ครัวเรือน
ไร่
|
กก./ไร่
|
บาท/ไร่
|
บาท/ไร่
|
2.3) ทำไร่
|
þ ไร่อ้อย
|
1 ครัวเรือน
10 ไร่
|
กก./ไร่
|
บาท/ไร่
|
บาท/ไร่
|
¨ ไร่ข้าวโพด
|
ครัวเรือน
ไร่
|
กก./ไร่
|
บาท/ไร่
|
บาท/ไร่
|
þ ไร่มันสำปะหลัง
|
1 ครัวเรือน
3 ไร่
|
กก./ไร่
|
บาท/ไร่
|
บาท/ไร่
|
þ อื่นๆ โปรดระบุ
ปาล์มน้ำมัน .
|
3 ครัวเรือน
46 ไร่
|
กก./ไร่
|
บาท/ไร่
|
บาท/ไร่
|
2.4) อื่นๆ
|
¨ อื่นๆ โปรดระบุ
.
|
ครัวเรือน
ไร่
|
กก./ไร่
|
บาท/ไร่
|
บาท/ไร่
|
- หมู่ที่ 3 บ้านหนองใสในเขต อบต.
มีพื้นที่ทั้งหมด 700 ไร่
ประเภทของการทำการเกษตร
|
จำนวน
|
ผลผลิตเฉลี่ย
(กก./ไร่)
|
ต้นทุนการผลิตเฉลี่ย
(บาท/ไร่)
|
ราคาขายโดยเฉลี่ย
(บาท/ไร่)
|
2.1) ทำนา
|
¨ ในเขตชลประทาน
|
ครัวเรือน
ไร่
|
กก./ไร่
|
บาท/ไร่
|
บาท/ไร่
|
þ นอกเขตชลประทาน
|
30 ครัวเรือน
500 . ไร่
|
400 กก./ไร่
|
2,000 บาท/ไร่
|
5,000 บาท/ไร่
|
2.2) ทำสวน
|
สวน .
|
ครัวเรือน
ไร่
|
กก./ไร่
|
บาท/ไร่
|
บาท/ไร่
|
สวน .
|
ครัวเรือน
ไร่
|
กก./ไร่
|
บาท/ไร่
|
บาท/ไร่
|
สวน .
|
ครัวเรือน
ไร่
|
กก./ไร่
|
บาท/ไร่
|
บาท/ไร่
|
สวน .
|
ครัวเรือน
ไร่
|
กก./ไร่
|
บาท/ไร่
|
บาท/ไร่
|
2.3) ทำไร่
|
¨ ไร่อ้อย
|
ครัวเรือน
ไร่
|
กก./ไร่
|
บาท/ไร่
|
บาท/ไร่
|
¨ ไร่ข้าวโพด
|
ครัวเรือน
ไร่
|
กก./ไร่
|
บาท/ไร่
|
บาท/ไร่
|
¨ ไร่มันสำปะหลัง
|
ครัวเรือน
ไร่
|
กก./ไร่
|
บาท/ไร่
|
บาท/ไร่
|
¨ อื่นๆ โปรดระบุ
.
|
ครัวเรือน
ไร่
|
กก./ไร่
|
บาท/ไร่
|
บาท/ไร่
|
2.4) อื่นๆ
|
¨ อื่นๆ โปรดระบุ
.
|
ครัวเรือน
ไร่
|
กก./ไร่
|
บาท/ไร่
|
บาท/ไร่
|
หมู่ที่ 4 บ้านหนองหว้า
มีพื้นที่ทั้งหมด 7,083 ไร่
ประเภทของการทำการเกษตร
|
จำนวน
|
ผลผลิตเฉลี่ย
(กก./ไร่)
|
ต้นทุนการผลิตเฉลี่ย
(บาท/ไร่)
|
ราคาขายโดยเฉลี่ย
(บาท/ไร่)
|
2.1) ทำนา
|
¨ ในเขตชลประทาน
|
ครัวเรือน
ไร่
|
กก./ไร่
|
บาท/ไร่
|
บาท/ไร่
|
þ นอกเขตชลประทาน
|
458 ครัวเรือน
4,011 . ไร่
|
750 กก./ไร่
|
5,000 บาท/ไร่
|
5,000 บาท/ไร่
|
2.2) ทำสวน
|
สวน 110 .
|
110 ครัวเรือน
75 ไร่
|
1,000 กก./ไร่
|
6,000 บาท/ไร่
|
6,000 บาท/ไร่
|
สวน .
|
ครัวเรือน
ไร่
|
กก./ไร่
|
บาท/ไร่
|
บาท/ไร่
|
สวน .
|
ครัวเรือน
ไร่
|
กก./ไร่
|
บาท/ไร่
|
บาท/ไร่
|
สวน .
|
ครัวเรือน
ไร่
|
กก./ไร่
|
บาท/ไร่
|
บาท/ไร่
|
2.3) ทำไร่
|
þ ไร่อ้อย
|
22 ครัวเรือน
100 ไร่
|
กก./ไร่
|
ตันละ 700 บาท/ไร่
|
6,000 บาท/ไร่
|
þ ไร่ข้าวโพด
|
5 ครัวเรือน
ไร่
|
100 กก./ไร่
|
500 บาท/ไร่
|
5,000 บาท/ไร่
|
þ ไร่มันสำปะหลัง
|
10 ครัวเรือน
30 ไร่
|
2,000 กก./ไร่
|
3,000 บาท/ไร่
|
3,000 บาท/ไร่
|
þ อื่นๆ โปรดระบุ
ทำนา .
|
150 ครัวเรือน
ไร่
|
780 กก./ไร่
|
4,000 บาท/ไร่
|
4,000 บาท/ไร่
|
2.4) อื่นๆ
|
¨ อื่นๆ โปรดระบุ
.
|
ครัวเรือน
ไร่
|
กก./ไร่
|
บาท/ไร่
|
บาท/ไร่
|
มีพื้นที่ทั้งหมด 5,745 ไร่
ประเภทของการทำการเกษตร
|
จำนวน
|
ผลผลิตเฉลี่ย
(กก./ไร่)
|
ต้นทุนการผลิตเฉลี่ย
(บาท/ไร่)
|
ราคาขายโดยเฉลี่ย
(บาท/ไร่)
|
2.1) ทำนา
|
¨ ในเขตชลประทาน
|
ครัวเรือน
ไร่
|
กก./ไร่
|
บาท/ไร่
|
บาท/ไร่
|
þ นอกเขตชลประทาน
|
293 ครัวเรือน
3,750 . ไร่
|
280 กก./ไร่
|
1,000 บาท/ไร่
|
3,080 บาท/ไร่
|
2.2) ทำสวน
|
สวน ครัว .
|
160 ครัวเรือน
625 ไร่
|
400 กก./ไร่
|
2,500 บาท/ไร่
|
8,000 บาท/ไร่
|
สวน .
|
ครัวเรือน
ไร่
|
กก./ไร่
|
บาท/ไร่
|
บาท/ไร่
|
สวน .
|
ครัวเรือน
ไร่
|
กก./ไร่
|
บาท/ไร่
|
บาท/ไร่
|
สวน .
|
ครัวเรือน
ไร่
|
กก./ไร่
|
บาท/ไร่
|
บาท/ไร่
|
2.3) ทำไร่
|
þ ไร่อ้อย
|
1 ครัวเรือน
5 ไร่
|
15,000 กก./ไร่
|
6,500 บาท/ไร่
|
12,000 บาท/ไร่
|
¨ ไร่ข้าวโพด
|
ครัวเรือน
ไร่
|
กก./ไร่
|
บาท/ไร่
|
บาท/ไร่
|
¨ ไร่มันสำปะหลัง
|
ครัวเรือน
ไร่
|
กก./ไร่
|
บาท/ไร่
|
บาท/ไร่
|
¨ อื่นๆ โปรดระบุ
.
|
ครัวเรือน
ไร่
|
กก./ไร่
|
บาท/ไร่
|
บาท/ไร่
|
2.4) อื่นๆ
|
¨ อื่นๆ โปรดระบุ
.
|
ครัวเรือน
ไร่
|
กก./ไร่
|
บาท/ไร่
|
บาท/ไร่
|
หมู่ที่ 6 บ้านหนองแก
มีพื้นที่ทั้งหมด 3,060 ไร่
ประเภทของการทำการเกษตร
|
จำนวน
|
ผลผลิตเฉลี่ย
(กก./ไร่)
|
ต้นทุนการผลิตเฉลี่ย
(บาท/ไร่)
|
ราคาขายโดยเฉลี่ย
(บาท/ไร่)
|
2.1) ทำนา
|
¨ ในเขตชลประทาน
|
ครัวเรือน
ไร่
|
กก./ไร่
|
บาท/ไร่
|
บาท/ไร่
|
þ นอกเขตชลประทาน
|
60 ครัวเรือน
600 . ไร่
|
400 กก./ไร่
|
5,000 บาท/ไร่
|
5,000 บาท/ไร่
|
2.2) ทำสวน
|
สวน .
|
ครัวเรือน
ไร่
|
กก./ไร่
|
บาท/ไร่
|
บาท/ไร่
|
สวน .
|
ครัวเรือน
ไร่
|
กก./ไร่
|
บาท/ไร่
|
บาท/ไร่
|
สวน .
|
ครัวเรือน
ไร่
|
กก./ไร่
|
บาท/ไร่
|
บาท/ไร่
|
สวน .
|
ครัวเรือน
ไร่
|
กก./ไร่
|
บาท/ไร่
|
บาท/ไร่
|
2.3) ทำไร่
|
¨ ไร่อ้อย
|
ครัวเรือน
ไร่
|
กก./ไร่
|
บาท/ไร่
|
บาท/ไร่
|
¨ ไร่ข้าวโพด
|
ครัวเรือน
ไร่
|
กก./ไร่
|
บาท/ไร่
|
บาท/ไร่
|
¨ ไร่มันสำปะหลัง
|
ครัวเรือน
ไร่
|
กก./ไร่
|
บาท/ไร่
|
บาท/ไร่
|
¨ อื่นๆ โปรดระบุ
.
|
ครัวเรือน
ไร่
|
กก./ไร่
|
บาท/ไร่
|
บาท/ไร่
|
2.4) อื่นๆ
|
¨ อื่นๆ โปรดระบุ
.
|
ครัวเรือน
ไร่
|
กก./ไร่
|
บาท/ไร่
|
บาท/ไร่
|
มีพื้นที่ทั้งหมด 3,520 ไร่
ประเภทของการทำการเกษตร
|
จำนวน
|
ผลผลิตเฉลี่ย
(กก./ไร่)
|
ต้นทุนการผลิตเฉลี่ย
(บาท/ไร่)
|
ราคาขายโดยเฉลี่ย
(บาท/ไร่)
|
2.1) ทำนา
|
¨ ในเขตชลประทาน
|
ครัวเรือน
ไร่
|
กก./ไร่
|
บาท/ไร่
|
บาท/ไร่
|
þ นอกเขตชลประทาน
|
60 ครัวเรือน
861 . ไร่
|
390 กก./ไร่
|
1,750 บาท/ไร่
|
4,680 บาท/ไร่
|
2.2) ทำสวน
|
สวน .
|
ครัวเรือน
ไร่
|
กก./ไร่
|
บาท/ไร่
|
บาท/ไร่
|
สวน .
|
ครัวเรือน
ไร่
|
กก./ไร่
|
บาท/ไร่
|
บาท/ไร่
|
สวน .
|
ครัวเรือน
ไร่
|
กก./ไร่
|
บาท/ไร่
|
บาท/ไร่
|
สวน .
|
ครัวเรือน
ไร่
|
กก./ไร่
|
บาท/ไร่
|
บาท/ไร่
|
2.3) ทำไร่
|
þ ไร่อ้อย
|
1 ครัวเรือน
17 ไร่
|
กก./ไร่
|
3,800 บาท/ไร่
|
8,800 บาท/ไร่
|
¨ ไร่ข้าวโพด
|
ครัวเรือน
ไร่
|
กก./ไร่
|
บาท/ไร่
|
บาท/ไร่
|
þ ไร่มันสำปะหลัง
|
1 ครัวเรือน
7 ไร่
|
2,500 กก./ไร่
|
2,500 บาท/ไร่
|
5,000 บาท/ไร่
|
þ อื่นๆ โปรดระบุ
ปลูปผัก-ถั่ว....... .
|
10 ครัวเรือน
9 ไร่
|
กก./ไร่
|
2,000 บาท/ไร่
|
4,000 บาท/ไร่
|
2.4) อื่นๆ
|
¨ อื่นๆ โปรดระบุ
.
|
ครัวเรือน
ไร่
|
กก./ไร่
|
บาท/ไร่
|
บาท/ไร่
|
หมู่ที่ 8 บ้านถ่อนน้อย
มีพื้นที่ทั้งหมด 3,500 ไร่
ประเภทของการทำการเกษตร
|
จำนวน
|
ผลผลิตเฉลี่ย
(กก./ไร่)
|
ต้นทุนการผลิตเฉลี่ย
(บาท/ไร่)
|
ราคาขายโดยเฉลี่ย
(บาท/ไร่)
|
2.1) ทำนา
|
¨ ในเขตชลประทาน
|
ครัวเรือน
ไร่
|
กก./ไร่
|
บาท/ไร่
|
บาท/ไร่
|
þ นอกเขตชลประทาน
|
120 ครัวเรือน
2,858 . ไร่
|
440 กก./ไร่
|
1,980 บาท/ไร่
|
5,720 บาท/ไร่
|
2.2) ทำสวน
|
สวน .
|
ครัวเรือน
ไร่
|
กก./ไร่
|
บาท/ไร่
|
บาท/ไร่
|
สวน .
|
ครัวเรือน
ไร่
|
กก./ไร่
|
บาท/ไร่
|
บาท/ไร่
|
สวน .
|
ครัวเรือน
ไร่
|
กก./ไร่
|
บาท/ไร่
|
บาท/ไร่
|
สวน .
|
ครัวเรือน
ไร่
|
กก./ไร่
|
บาท/ไร่
|
บาท/ไร่
|
2.3) ทำไร่
|
þ ไร่อ้อย
|
1 ครัวเรือน
15 ไร่
|
500 กก./ไร่
|
1,750 บาท/ไร่
|
2,500 บาท/ไร่
|
¨ ไร่ข้าวโพด
|
ครัวเรือน
ไร่
|
กก./ไร่
|
บาท/ไร่
|
บาท/ไร่
|
þ ไร่มันสำปะหลัง
|
5 ครัวเรือน
80 ไร่
|
680 กก./ไร่
|
1,200 บาท/ไร่
|
1,700 บาท/ไร่
|
¨ อื่นๆ โปรดระบุ
.
|
ครัวเรือน
ไร่
|
กก./ไร่
|
บาท/ไร่
|
บาท/ไร่
|
2.4) อื่นๆ
|
¨ อื่นๆ โปรดระบุ
.
|
ครัวเรือน
ไร่
|
กก./ไร่
|
บาท/ไร่
|
บาท/ไร่
|
มีพื้นที่ทั้งหมด 3,000 ไร่
ประเภทของการทำการเกษตร
|
จำนวน
|
ผลผลิตเฉลี่ย
(กก./ไร่)
|
ต้นทุนการผลิตเฉลี่ย
(บาท/ไร่)
|
ราคาขายโดยเฉลี่ย
(บาท/ไร่)
|
2.1) ทำนา
|
¨ ในเขตชลประทาน
|
ครัวเรือน
ไร่
|
กก./ไร่
|
บาท/ไร่
|
บาท/ไร่
|
þ นอกเขตชลประทาน
|
27 ครัวเรือน
193 . ไร่
|
450 กก./ไร่
|
2,300 บาท/ไร่
|
5,000 บาท/ไร่
|
2.2) ทำสวน
|
สวน .
|
ครัวเรือน
ไร่
|
กก./ไร่
|
บาท/ไร่
|
บาท/ไร่
|
สวน .
|
ครัวเรือน
ไร่
|
กก./ไร่
|
บาท/ไร่
|
บาท/ไร่
|
สวน .
|
ครัวเรือน
ไร่
|
กก./ไร่
|
บาท/ไร่
|
บาท/ไร่
|
สวน .
|
ครัวเรือน
ไร่
|
กก./ไร่
|
บาท/ไร่
|
บาท/ไร่
|
2.3) ทำไร่
|
¨ ไร่อ้อย
|
ครัวเรือน
ไร่
|
กก./ไร่
|
บาท/ไร่
|
บาท/ไร่
|
¨ ไร่ข้าวโพด
|
ครัวเรือน
ไร่
|
กก./ไร่
|
บาท/ไร่
|
บาท/ไร่
|
þ ไร่มันสำปะหลัง
|
1 ครัวเรือน
7 ไร่
|
กก./ไร่
|
บาท/ไร่
|
บาท/ไร่
|
¨ อื่นๆ โปรดระบุ
.
|
ครัวเรือน
ไร่
|
กก./ไร่
|
บาท/ไร่
|
บาท/ไร่
|
2.4) อื่นๆ
|
¨ อื่นๆ โปรดระบุ
.
|
ครัวเรือน
ไร่
|
กก./ไร่
|
บาท/ไร่
|
บาท/ไร่
|
หมู่ที่ 10 บ้านดอนภู่
มีพื้นที่ทั้งหมด 3,500 ไร่
ประเภทของการทำการเกษตร
|
จำนวน
|
ผลผลิตเฉลี่ย
(กก./ไร่)
|
ต้นทุนการผลิตเฉลี่ย
(บาท/ไร่)
|
ราคาขายโดยเฉลี่ย
(บาท/ไร่)
|
2.1) ทำนา
|
¨ ในเขตชลประทาน
|
ครัวเรือน
ไร่
|
กก./ไร่
|
บาท/ไร่
|
บาท/ไร่
|
þ นอกเขตชลประทาน
|
595 ครัวเรือน
3,500 . ไร่
|
400 กก./ไร่
|
5,000 บาท/ไร่
|
5,000 บาท/ไร่
|
2.2) ทำสวน
|
สวน .
|
ครัวเรือน
ไร่
|
กก./ไร่
|
บาท/ไร่
|
บาท/ไร่
|
สวน .
|
ครัวเรือน
ไร่
|
กก./ไร่
|
บาท/ไร่
|
บาท/ไร่
|
สวน .
|
ครัวเรือน
ไร่
|
กก./ไร่
|
บาท/ไร่
|
บาท/ไร่
|
สวน .
|
ครัวเรือน
ไร่
|
กก./ไร่
|
บาท/ไร่
|
บาท/ไร่
|
2.3) ทำไร่
|
¨ ไร่อ้อย
|
ครัวเรือน
ไร่
|
กก./ไร่
|
บาท/ไร่
|
บาท/ไร่
|
¨ ไร่ข้าวโพด
|
ครัวเรือน
ไร่
|
กก./ไร่
|
บาท/ไร่
|
บาท/ไร่
|
¨ ไร่มันสำปะหลัง
|
ครัวเรือน
ไร่
|
กก./ไร่
|
บาท/ไร่
|
บาท/ไร่
|
¨ อื่นๆ โปรดระบุ
.
|
ครัวเรือน
ไร่
|
กก./ไร่
|
บาท/ไร่
|
บาท/ไร่
|
2.4) อื่นๆ
|
¨ อื่นๆ โปรดระบุ
.
|
ครัวเรือน
ไร่
|
กก./ไร่
|
บาท/ไร่
|
บาท/ไร่
|
มีพื้นที่ทั้งหมด 4,115 ไร่
ประเภทของการทำการเกษตร
|
จำนวน
|
ผลผลิตเฉลี่ย
(กก./ไร่)
|
ต้นทุนการผลิตเฉลี่ย
(บาท/ไร่)
|
ราคาขายโดยเฉลี่ย
(บาท/ไร่)
|
2.1) ทำนา
|
¨ ในเขตชลประทาน
|
ครัวเรือน
ไร่
|
กก./ไร่
|
บาท/ไร่
|
บาท/ไร่
|
þ นอกเขตชลประทาน
|
121 ครัวเรือน
3,000 . ไร่
|
400 กก./ไร่
|
2,500 บาท/ไร่
|
4,500 บาท/ไร่
|
2.2) ทำสวน
|
สวน ยางพารา .
|
10 ครัวเรือน
32 ไร่
|
กก./ไร่
|
บาท/ไร่
|
บาท/ไร่
|
สวน .
|
ครัวเรือน
ไร่
|
กก./ไร่
|
บาท/ไร่
|
บาท/ไร่
|
สวน .
|
ครัวเรือน
ไร่
|
กก./ไร่
|
บาท/ไร่
|
บาท/ไร่
|
สวน .
|
ครัวเรือน
ไร่
|
กก./ไร่
|
บาท/ไร่
|
บาท/ไร่
|
2.3) ทำไร่
|
¨ ไร่อ้อย
|
ครัวเรือน
ไร่
|
กก./ไร่
|
บาท/ไร่
|
บาท/ไร่
|
¨ ไร่ข้าวโพด
|
ครัวเรือน
ไร่
|
กก./ไร่
|
บาท/ไร่
|
บาท/ไร่
|
¨ ไร่มันสำปะหลัง
|
ครัวเรือน
ไร่
|
กก./ไร่
|
บาท/ไร่
|
บาท/ไร่
|
¨ อื่นๆ โปรดระบุ
.
|
ครัวเรือน
ไร่
|
กก./ไร่
|
บาท/ไร่
|
บาท/ไร่
|
2.4) อื่นๆ
|
¨ อื่นๆ โปรดระบุ
.
|
ครัวเรือน
ไร่
|
กก./ไร่
|
บาท/ไร่
|
บาท/ไร่
|
หมู่ที่ 12 บ้านหนองไผ่คำ
มีพื้นที่ทั้งหมด 1,564 ไร่
ประเภทของการทำการเกษตร
|
จำนวน
|
ผลผลิตเฉลี่ย
(กก./ไร่)
|
ต้นทุนการผลิตเฉลี่ย
(บาท/ไร่)
|
ราคาขายโดยเฉลี่ย
(บาท/ไร่)
|
2.1) ทำนา
|
¨ ในเขตชลประทาน
|
ครัวเรือน
ไร่
|
กก./ไร่
|
บาท/ไร่
|
บาท/ไร่
|
þ นอกเขตชลประทาน
|
148 ครัวเรือน
123 . ไร่
|
8,000 กก./ไร่
|
7,000 บาท/ไร่
|
14,400 บาท/ไร่
|
2.2) ทำสวน
|
สวน ดาวเรือง .
|
4 ครัวเรือน
3 ไร่
|
กก./ไร่
|
1,000 บาท/ไร่
|
5,000 บาท/ไร่
|
สวน .
|
ครัวเรือน
ไร่
|
กก./ไร่
|
บาท/ไร่
|
บาท/ไร่
|
สวน .
|
ครัวเรือน
ไร่
|
กก./ไร่
|
บาท/ไร่
|
บาท/ไร่
|
สวน .
|
ครัวเรือน
ไร่
|
กก./ไร่
|
บาท/ไร่
|
บาท/ไร่
|
2.3) ทำไร่
|
þ ไร่อ้อย
|
1 ครัวเรือน
30 ไร่
|
3,000 กก./ไร่
|
1,500 บาท/ไร่
|
2,400 บาท/ไร่
|
þ ไร่ข้าวโพด
|
1 ครัวเรือน
1 ไร่
|
กก./ไร่
|
1,000 บาท/ไร่
|
3,000 บาท/ไร่
|
þ ไร่มันสำปะหลัง
|
4 ครัวเรือน
30 ไร่
|
1,000 กก./ไร่
|
1,000 บาท/ไร่
|
800 บาท/ไร่
|
¨ อื่นๆ โปรดระบุ
.
|
ครัวเรือน
ไร่
|
กก./ไร่
|
บาท/ไร่
|
บาท/ไร่
|
2.4) อื่นๆ
|
¨ อื่นๆ โปรดระบุ
.
|
ครัวเรือน
ไร่
|
กก./ไร่
|
บาท/ไร่
|
บาท/ไร่
|
มีพื้นที่ทั้งหมด 384 ไร่
ประเภทของการทำการเกษตร
|
จำนวน
|
ผลผลิตเฉลี่ย
(กก./ไร่)
|
ต้นทุนการผลิตเฉลี่ย
(บาท/ไร่)
|
ราคาขายโดยเฉลี่ย
(บาท/ไร่)
|
2.1) ทำนา
|
¨ ในเขตชลประทาน
|
ครัวเรือน
ไร่
|
กก./ไร่
|
บาท/ไร่
|
บาท/ไร่
|
þ นอกเขตชลประทาน
|
205 ครัวเรือน
384 . ไร่
|
560 กก./ไร่
|
2,375 บาท/ไร่
|
4,537.5 บาท/ไร่
|
2.2) ทำสวน
|
สวน .
|
ครัวเรือน
ไร่
|
กก./ไร่
|
บาท/ไร่
|
บาท/ไร่
|
สวน .
|
ครัวเรือน
ไร่
|
กก./ไร่
|
บาท/ไร่
|
บาท/ไร่
|
สวน .
|
ครัวเรือน
ไร่
|
กก./ไร่
|
บาท/ไร่
|
บาท/ไร่
|
สวน .
|
ครัวเรือน
ไร่
|
กก./ไร่
|
บาท/ไร่
|
บาท/ไร่
|
2.3) ทำไร่
|
¨ ไร่อ้อย
|
ครัวเรือน
ไร่
|
กก./ไร่
|
บาท/ไร่
|
บาท/ไร่
|
¨ ไร่ข้าวโพด
|
ครัวเรือน
ไร่
|
กก./ไร่
|
บาท/ไร่
|
บาท/ไร่
|
¨ ไร่มันสำปะหลัง
|
ครัวเรือน
ไร่
|
กก./ไร่
|
บาท/ไร่
|
บาท/ไร่
|
¨ อื่นๆ โปรดระบุ
.
|
ครัวเรือน
ไร่
|
กก./ไร่
|
บาท/ไร่
|
บาท/ไร่
|
2.4) อื่นๆ
|
¨ อื่นๆ โปรดระบุ
.
|
ครัวเรือน
ไร่
|
กก./ไร่
|
บาท/ไร่
|
บาท/ไร่
|
หมู่ที่ 15 บ้านโนนสะอาด
มีพื้นที่ทั้งหมด 1,906 ไร่
ประเภทของการทำการเกษตร
|
จำนวน
|
ผลผลิตเฉลี่ย
(กก./ไร่)
|
ต้นทุนการผลิตเฉลี่ย
(บาท/ไร่)
|
ราคาขายโดยเฉลี่ย
(บาท/ไร่)
|
2.1) ทำนา
|
¨ ในเขตชลประทาน
|
ครัวเรือน
ไร่
|
กก./ไร่
|
บาท/ไร่
|
บาท/ไร่
|
þ นอกเขตชลประทาน
|
169 ครัวเรือน
1,106 . ไร่
|
412.5 กก./ไร่
|
1,800 บาท/ไร่
|
4,537.5 บาท/ไร่
|
2.2) ทำสวน
|
สวน .
|
ครัวเรือน
ไร่
|
กก./ไร่
|
บาท/ไร่
|
บาท/ไร่
|
สวน .
|
ครัวเรือน
ไร่
|
กก./ไร่
|
บาท/ไร่
|
บาท/ไร่
|
สวน .
|
ครัวเรือน
ไร่
|
กก./ไร่
|
บาท/ไร่
|
บาท/ไร่
|
สวน .
|
ครัวเรือน
ไร่
|
กก./ไร่
|
บาท/ไร่
|
บาท/ไร่
|
2.3) ทำไร่
|
¨ ไร่อ้อย
|
ครัวเรือน
ไร่
|
กก./ไร่
|
บาท/ไร่
|
บาท/ไร่
|
¨ ไร่ข้าวโพด
|
ครัวเรือน
ไร่
|
กก./ไร่
|
บาท/ไร่
|
บาท/ไร่
|
¨ ไร่มันสำปะหลัง
|
ครัวเรือน
ไร่
|
กก./ไร่
|
บาท/ไร่
|
บาท/ไร่
|
¨ อื่นๆ โปรดระบุ
.
|
ครัวเรือน
ไร่
|
กก./ไร่
|
บาท/ไร่
|
บาท/ไร่
|
2.4) อื่นๆ
|
¨ อื่นๆ โปรดระบุ
.
|
ครัวเรือน
ไร่
|
กก./ไร่
|
บาท/ไร่
|
บาท/ไร่
|
มีพื้นที่ทั้งหมด 4,894 ไร่
ประเภทของการทำการเกษตร
|
จำนวน
|
ผลผลิตเฉลี่ย
(กก./ไร่)
|
ต้นทุนการผลิตเฉลี่ย
(บาท/ไร่)
|
ราคาขายโดยเฉลี่ย
(บาท/ไร่)
|
2.1) ทำนา
|
þ ในเขตชลประทาน
|
7 ครัวเรือน
63 ไร่
|
500 กก./ไร่
|
2,800 บาท/ไร่
|
5,000 บาท/ไร่
|
þ นอกเขตชลประทาน
|
158 ครัวเรือน
4,437 . ไร่
|
450 กก./ไร่
|
2,830 บาท/ไร่
|
5,300 บาท/ไร่
|
2.2) ทำสวน
|
สวน .
|
ครัวเรือน
ไร่
|
กก./ไร่
|
บาท/ไร่
|
บาท/ไร่
|
สวน .
|
ครัวเรือน
ไร่
|
กก./ไร่
|
บาท/ไร่
|
บาท/ไร่
|
สวน .
|
ครัวเรือน
ไร่
|
กก./ไร่
|
บาท/ไร่
|
บาท/ไร่
|
สวน .
|
ครัวเรือน
ไร่
|
กก./ไร่
|
บาท/ไร่
|
บาท/ไร่
|
2.3) ทำไร่
|
¨ ไร่อ้อย
|
ครัวเรือน
ไร่
|
กก./ไร่
|
บาท/ไร่
|
บาท/ไร่
|
¨ ไร่ข้าวโพด
|
ครัวเรือน
ไร่
|
กก./ไร่
|
บาท/ไร่
|
บาท/ไร่
|
¨ ไร่มันสำปะหลัง
|
ครัวเรือน
ไร่
|
กก./ไร่
|
บาท/ไร่
|
บาท/ไร่
|
¨ อื่นๆ โปรดระบุ
.
|
ครัวเรือน
ไร่
|
กก./ไร่
|
บาท/ไร่
|
บาท/ไร่
|
2.4) อื่นๆ
|
¨ อื่นๆ โปรดระบุ
.
|
ครัวเรือน
ไร่
|
กก./ไร่
|
บาท/ไร่
|
บาท/ไร่
|
หมู่ที่ 18 บ้านโนนกอก
มีพื้นที่ทั้งหมด 1,500 ไร่
ประเภทของการทำการเกษตร
|
จำนวน
|
ผลผลิตเฉลี่ย
(กก./ไร่)
|
ต้นทุนการผลิตเฉลี่ย
(บาท/ไร่)
|
ราคาขายโดยเฉลี่ย
(บาท/ไร่)
|
2.1) ทำนา
|
¨ ในเขตชลประทาน
|
ครัวเรือน
ไร่
|
กก./ไร่
|
บาท/ไร่
|
บาท/ไร่
|
þ นอกเขตชลประทาน
|
56 ครัวเรือน
617 . ไร่
|
160 กก./ไร่
|
1,000 บาท/ไร่
|
2,800 บาท/ไร่
|
2.2) ทำสวน
|
สวน .
|
ครัวเรือน
ไร่
|
กก./ไร่
|
บาท/ไร่
|
บาท/ไร่
|
สวน .
|
ครัวเรือน
ไร่
|
กก./ไร่
|
บาท/ไร่
|
บาท/ไร่
|
สวน .
|
ครัวเรือน
ไร่
|
กก./ไร่
|
บาท/ไร่
|
บาท/ไร่
|
สวน .
|
ครัวเรือน
ไร่
|
กก./ไร่
|
บาท/ไร่
|
บาท/ไร่
|
2.3) ทำไร่
|
¨ ไร่อ้อย
|
ครัวเรือน
ไร่
|
กก./ไร่
|
บาท/ไร่
|
บาท/ไร่
|
¨ ไร่ข้าวโพด
|
ครัวเรือน
ไร่
|
กก./ไร่
|
บาท/ไร่
|
บาท/ไร่
|
þ ไร่มันสำปะหลัง
|
2 ครัวเรือน
6 ไร่
|
กก./ไร่
|
บาท/ไร่
|
บาท/ไร่
|
¨ อื่นๆ โปรดระบุ
.
|
ครัวเรือน
ไร่
|
กก./ไร่
|
บาท/ไร่
|
บาท/ไร่
|
2.4) อื่นๆ
|
¨ อื่นๆ โปรดระบุ
.
|
ครัวเรือน
ไร่
|
กก./ไร่
|
บาท/ไร่
|
บาท/ไร่
|
- 3 ข้อมูลด้านแหล่งน้ำทางการเกษตร
(1) บ้านหนองนาคำ หมู่ที่ 1 มีแหล่งน้ำทางการเกษตร ดังนี้
แหล่งน้ำ
ทางการเกษตร
|
ความเพียงพอของปริมาณน้ำฝนที่ใช้ในการทำการเกษตร
|
ปริมาณน้ำฝนที่ตกโดยเฉลี่ยในปีที่ผ่านมา
(มิลลิเมตร) กรณีที่ทราบโปรดระบุ
|
เพียงพอ
|
ไม่เพียงพอ
|
3.1) ปริมาณน้ำฝน
|
|
ü
|
1,500 มิลลิเมตร
|
แหล่งน้ำ
ทางการเกษตร
|
ลำดับ
ความสำคัญ
|
ความเพียงพอของน้ำเพื่อการเกษตร
ตลอดทั้งปี
|
การเข้าถึงแหล่งน้ำการเกษตร
|
เพียงพอ
|
ไม่เพียงพอ
|
ทั่วถึง
|
ไม่ทั่วถึง
|
ร้อยละของครัวเรือนที่เข้าถึงฯ
|
3.2) แหล่งน้ำธรรมชาติ
|
1. แม่น้ำ
|
1
|
|
ü
|
|
ü
|
0
|
2. ห้วย/ลำธาร
|
2
|
|
ü
|
|
ü
|
50
|
3. คลอง
|
3
|
|
ü
|
|
ü
|
50
|
4. หนองน้ำ/บึง
|
4
|
|
ü
|
|
ü
|
10
|
5. น้ำตก
|
|
|
|
|
|
|
6. อื่นๆ(โปรดระบุ)
6.1) .
6.2) .
6.3) .
|
|
|
|
|
|
|
3.3) แหล่งน้ำที่มนุษย์สร้างขึ้น
|
1. แก้มลิง
|
|
|
|
|
|
|
2. อ่างเก็บน้ำ
|
|
|
|
|
|
|
3. ฝาย
|
|
|
|
|
|
|
4. สระ
|
1
|
|
ü
|
|
ü
|
10
|
5. คลองชลประทาน
|
2
|
|
ü
|
|
ü
|
0
|
6. อื่นๆ(โปรดระบุ)
6.1 .
6.2) .
6.3) .
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
หมายเหตุ บ้านหนองนาคำ หมู่ที่ 1 น้ำที่ใช้เพื่อการเกษตร ไม่เพียงพอช่วงเดือนเมษายน-พฤษภาคม
-
- บ้านโก่ย หมู่ที่ 2 มีแหล่งน้ำทางการเกษตร ดังนี้
แหล่งน้ำ
ทางการเกษตร
|
ความเพียงพอของปริมาณน้ำฝนที่ใช้ในการทำการเกษตร
|
ปริมาณน้ำฝนที่ตกโดยเฉลี่ยในปีที่ผ่านมา
(มิลลิเมตร) กรณีที่ทราบโปรดระบุ
|
เพียงพอ
|
ไม่เพียงพอ
|
3.1) ปริมาณน้ำฝน
|
|
ü
|
1,500 มิลลิเมตร
|
แหล่งน้ำ
ทางการเกษตร
|
ลำดับ
ความสำคัญ
|
ความเพียงพอของน้ำเพื่อการเกษตร
ตลอดทั้งปี
|
การเข้าถึงแหล่งน้ำการเกษตร
|
เพียงพอ
|
ไม่เพียงพอ
|
ทั่วถึง
|
ไม่ทั่วถึง
|
ร้อยละของครัวเรือนที่เข้าถึงฯ
|
3.2) แหล่งน้ำธรรมชาติ
|
1. แม่น้ำ
|
|
|
|
|
|
|
2. ห้วย/ลำธาร
|
2
|
|
ü
|
|
ü
|
50
|
3. คลอง
|
|
|
|
|
|
|
4. หนองน้ำ/บึง
|
5
|
|
ü
|
|
ü
|
0
|
5. น้ำตก
|
|
|
|
|
|
|
6. อื่นๆ(โปรดระบุ)
6.1) .
6.2) .
6.3) .
|
|
|
|
|
|
|
3.3) แหล่งน้ำที่มนุษย์สร้างขึ้น
|
1. แก้มลิง
|
|
|
|
|
|
|
2. อ่างเก็บน้ำ
|
1
|
|
ü
|
|
ü
|
10
|
3. ฝาย
|
3
|
|
ü
|
|
ü
|
10
|
4. สระ
|
4
|
|
ü
|
|
ü
|
10
|
5. คลองชลประทาน
|
|
|
|
|
|
|
6. อื่นๆ(โปรดระบุ)
6.1 .
6.2) .
6.3) .
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
- หมายเหตุ บ้านโก่ย หมู่ที่ 2 น้ำที่ใช้เพื่อการเกษตร ไม่เพียงพอช่วงเดือนเมษายน-พฤษภาคม
-
- บ้านหนองใส หมู่ที่ 3 มีแหล่งน้ำทางการเกษตร ดังนี้
แหล่งน้ำ
ทางการเกษตร
|
ความเพียงพอของปริมาณน้ำฝนที่ใช้ในการทำการเกษตร
|
ปริมาณน้ำฝนที่ตกโดยเฉลี่ยในปีที่ผ่านมา
(มิลลิเมตร) กรณีที่ทราบโปรดระบุ
|
เพียงพอ
|
ไม่เพียงพอ
|
3.1) ปริมาณน้ำฝน
|
|
ü
|
1,500 มิลลิเมตร
|
แหล่งน้ำ
ทางการเกษตร
|
ลำดับ
ความสำคัญ
|
ความเพียงพอของน้ำเพื่อการเกษตร
ตลอดทั้งปี
|
การเข้าถึงแหล่งน้ำการเกษตร
|
เพียงพอ
|
ไม่เพียงพอ
|
ทั่วถึง
|
ไม่ทั่วถึง
|
ร้อยละของครัวเรือนที่เข้าถึงฯ
|
3.2) แหล่งน้ำธรรมชาติ
|
1. แม่น้ำ
|
|
|
|
|
|
|
2. ห้วย/ลำธาร
|
4
|
|
ü
|
|
ü
|
50
|
3. คลอง
|
2
|
ü
|
|
ü
|
|
10
|
4. หนองน้ำ/บึง
|
1
|
ü
|
|
ü
|
|
10
|
5. น้ำตก
|
|
|
|
|
|
|
6. อื่นๆ(โปรดระบุ)
6.1) .
6.2) .
6.3) .
|
|
|
|
|
|
|
3.3) แหล่งน้ำที่มนุษย์สร้างขึ้น
|
1. แก้มลิง
|
|
|
|
|
|
|
2. อ่างเก็บน้ำ
|
|
|
|
|
|
|
3. ฝาย
|
|
|
|
|
|
|
4. สระ
|
3
|
|
ü
|
|
ü
|
10
|
5. คลองชลประทาน
|
|
|
|
|
|
|
6. อื่นๆ(โปรดระบุ)
6.1 .
6.2) .
6.3) .
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
- หมายเหตุ บ้านหนองใส หมู่ที่ 3 น้ำที่ใช้เพื่อการเกษตร ไม่เพียงพอช่วงเดือนเมษายน-พฤษภาคม
-
- บ้านหนองหว้า หมู่ที่ 4 มีแหล่งน้ำทางการเกษตร ดังนี้
แหล่งน้ำ
ทางการเกษตร
|
ความเพียงพอของปริมาณน้ำฝนที่ใช้ในการทำการเกษตร
|
ปริมาณน้ำฝนที่ตกโดยเฉลี่ยในปีที่ผ่านมา
(มิลลิเมตร) กรณีที่ทราบโปรดระบุ
|
เพียงพอ
|
ไม่เพียงพอ
|
3.1) ปริมาณน้ำฝน
|
|
ü
|
1,500 มิลลิเมตร
|
แหล่งน้ำ
ทางการเกษตร
|
ลำดับ
ความสำคัญ
|
ความเพียงพอของน้ำเพื่อการเกษตร
ตลอดทั้งปี
|
การเข้าถึงแหล่งน้ำการเกษตร
|
เพียงพอ
|
ไม่เพียงพอ
|
ทั่วถึง
|
ไม่ทั่วถึง
|
ร้อยละของครัวเรือนที่เข้าถึงฯ
|
3.2) แหล่งน้ำธรรมชาติ
|
1. แม่น้ำ
|
|
|
|
|
|
|
2. ห้วย/ลำธาร
|
|
|
|
|
|
|
3. คลอง
|
|
|
|
|
|
|
4. หนองน้ำ/บึง
|
3
|
|
ü
|
|
ü
|
0
|
5. น้ำตก
|
|
|
|
|
|
|
6. อื่นๆ(โปรดระบุ)
6.1) ใช้น้ำประปาหมู่บ้าน .
6.2) .
6.3) .
|
1
|
|
ü
|
|
ü
|
150
|
3.3) แหล่งน้ำที่มนุษย์สร้างขึ้น
|
1. แก้มลิง
|
|
|
|
|
|
|
2. อ่างเก็บน้ำ
|
|
|
|
|
|
|
3. ฝาย
|
|
|
|
|
|
|
4. สระ
|
|
|
|
|
|
|
5. คลองชลประทาน
|
|
|
|
|
|
|
6. อื่นๆ(โปรดระบุ)
6.1 หนองหมู่บ้าน .
6.2) .
6.3) .
|
2
|
|
ü
|
|
ü
|
50
|
|
|
|
|
|
|
|
|
- หมายเหตุ บ้านหนองหว้า หมู่ที่ 4 น้ำที่ใช้เพื่อการเกษตร ไม่เพียงพอช่วงเดือนเมษายน-พฤษภาคม
-
- บ้านหนองไผ่ หมู่ที่ 5 มีแหล่งน้ำทางการเกษตร ดังนี้
แหล่งน้ำ
ทางการเกษตร
|
ความเพียงพอของปริมาณน้ำฝนที่ใช้ในการทำการเกษตร
|
ปริมาณน้ำฝนที่ตกโดยเฉลี่ยในปีที่ผ่านมา
(มิลลิเมตร) กรณีที่ทราบโปรดระบุ
|
เพียงพอ
|
ไม่เพียงพอ
|
3.1) ปริมาณน้ำฝน
|
|
ü
|
1,500 มิลลิเมตร
|
แหล่งน้ำ
ทางการเกษตร
|
ลำดับ
ความสำคัญ
|
ความเพียงพอของน้ำเพื่อการเกษตร
ตลอดทั้งปี
|
การเข้าถึงแหล่งน้ำการเกษตร
|
เพียงพอ
|
ไม่เพียงพอ
|
ทั่วถึง
|
ไม่ทั่วถึง
|
ร้อยละของครัวเรือนที่เข้าถึงฯ
|
3.2) แหล่งน้ำธรรมชาติ
|
1. แม่น้ำ
|
|
|
|
|
|
|
2. ห้วย/ลำธาร
|
2
|
|
ü
|
|
ü
|
10
|
3. คลอง
|
3
|
|
ü
|
|
ü
|
10
|
4. หนองน้ำ/บึง
|
|
|
|
|
|
|
5. น้ำตก
|
|
|
|
|
|
|
6. อื่นๆ(โปรดระบุ)
6.1) .
6.2) .
6.3) .
|
|
|
|
|
|
|
3.3) แหล่งน้ำที่มนุษย์สร้างขึ้น
|
1. แก้มลิง
|
|
|
|
|
|
|
2. อ่างเก็บน้ำ
|
|
|
|
|
|
|
3. ฝาย
|
|
|
|
|
|
|
4. สระ
|
1
|
|
ü
|
|
ü
|
10
|
5. คลองชลประทาน
|
|
|
|
|
|
|
6. อื่นๆ(โปรดระบุ)
6.1 .
6.2) .
6.3) .
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
- หมายเหตุ บ้านหนองไผ่ หมู่ที่ 5 น้ำที่ใช้เพื่อการเกษตร ไม่เพียงพอช่วงเดือนเมษายน-พฤษภาคม
-
- บ้านหนองแก หมู่ที่ 6 มีแหล่งน้ำทางการเกษตร ดังนี้
แหล่งน้ำ
ทางการเกษตร
|
ความเพียงพอของปริมาณน้ำฝนที่ใช้ในการทำการเกษตร
|
ปริมาณน้ำฝนที่ตกโดยเฉลี่ยในปีที่ผ่านมา
(มิลลิเมตร) กรณีที่ทราบโปรดระบุ
|
เพียงพอ
|
ไม่เพียงพอ
|
3.1) ปริมาณน้ำฝน
|
|
ü
|
1,500 มิลลิเมตร
|
แหล่งน้ำ
ทางการเกษตร
|
ลำดับ
ความสำคัญ
|
ความเพียงพอของน้ำเพื่อการเกษตร
ตลอดทั้งปี
|
การเข้าถึงแหล่งน้ำการเกษตร
|
เพียงพอ
|
ไม่เพียงพอ
|
ทั่วถึง
|
ไม่ทั่วถึง
|
ร้อยละของครัวเรือนที่เข้าถึงฯ
|
3.2) แหล่งน้ำธรรมชาติ
|
1. แม่น้ำ
|
|
|
|
|
|
|
2. ห้วย/ลำธาร
|
2
|
|
ü
|
|
ü
|
10
|
3. คลอง
|
3
|
|
ü
|
|
ü
|
10
|
4. หนองน้ำ/บึง
|
4
|
|
ü
|
|
ü
|
0
|
5. น้ำตก
|
|
|
|
|
|
|
6. อื่นๆ(โปรดระบุ)
6.1) .
6.2) .
6.3) .
|
|
|
|
|
|
|
3.3) แหล่งน้ำที่มนุษย์สร้างขึ้น
|
1. แก้มลิง
|
|
|
|
|
|
|
2. อ่างเก็บน้ำ
|
|
|
|
|
|
|
3. ฝาย
|
|
|
|
|
|
|
4. สระ
|
1
|
|
ü
|
|
ü
|
10
|
5. คลองชลประทาน
|
|
|
|
|
|
|
6. อื่นๆ(โปรดระบุ)
6.1 .
6.2) .
6.3) .
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
- หมายเหตุ บ้านหนองแก หมู่ที่ 6 น้ำที่ใช้เพื่อการเกษตร ไม่เพียงพอช่วงเดือนเมษายน-พฤษภาคม
- บ้านจำปา หมู่ที่ 7 มีแหล่งน้ำทางการเกษตร ดังนี้
แหล่งน้ำ
ทางการเกษตร
|
ความเพียงพอของปริมาณน้ำฝนที่ใช้ในการทำการเกษตร
|
ปริมาณน้ำฝนที่ตกโดยเฉลี่ยในปีที่ผ่านมา
(มิลลิเมตร) กรณีที่ทราบโปรดระบุ
|
เพียงพอ
|
ไม่เพียงพอ
|
3.1) ปริมาณน้ำฝน
|
|
ü
|
1,500 มิลลิเมตร
|
แหล่งน้ำ
ทางการเกษตร
|
ลำดับ
ความสำคัญ
|
ความเพียงพอของน้ำเพื่อการเกษตร
ตลอดทั้งปี
|
การเข้าถึงแหล่งน้ำการเกษตร
|
เพียงพอ
|
ไม่เพียงพอ
|
ทั่วถึง
|
ไม่ทั่วถึง
|
ร้อยละของครัวเรือนที่เข้าถึงฯ
|
3.2) แหล่งน้ำธรรมชาติ
|
1. แม่น้ำ
|
|
|
|
|
|
|
2. ห้วย/ลำธาร
|
1
|
|
ü
|
|
ü
|
10
|
3. คลอง
|
2
|
|
ü
|
|
ü
|
10
|
4. หนองน้ำ/บึง
|
|
|
|
|
|
|
5. น้ำตก
|
|
|
|
|
|
|
6. อื่นๆ(โปรดระบุ)
6.1) .
6.2) .
6.3) .
|
|
|
|
|
|
|
3.3) แหล่งน้ำที่มนุษย์สร้างขึ้น
|
1. แก้มลิง
|
|
|
|
|
|
|
2. อ่างเก็บน้ำ
|
|
|
|
|
|
|
3. ฝาย
|
|
|
|
|
|
|
4. สระ
|
3
|
|
ü
|
|
ü
|
50
|
5. คลองชลประทาน
|
|
|
|
|
|
|
6. อื่นๆ(โปรดระบุ)
6.1 .
6.2) .
6.3) .
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
หมายเหตุ บ้านจำปา หมู่ที่ 7 น้ำที่ใช้เพื่อการเกษตร ไม่เพียงพอช่วงเดือนเมษายน-พฤษภาคม
- บ้านถ่อนน้อย หมู่ที่ 8 มีแหล่งน้ำทางการเกษตร ดังนี้
แหล่งน้ำ
ทางการเกษตร
|
ความเพียงพอของปริมาณน้ำฝนที่ใช้ในการทำการเกษตร
|
ปริมาณน้ำฝนที่ตกโดยเฉลี่ยในปีที่ผ่านมา
(มิลลิเมตร) กรณีที่ทราบโปรดระบุ
|
เพียงพอ
|
ไม่เพียงพอ
|
3.1) ปริมาณน้ำฝน
|
|
ü
|
1,500 มิลลิเมตร
|
แหล่งน้ำ
ทางการเกษตร
|
ลำดับ
ความสำคัญ
|
ความเพียงพอของน้ำเพื่อการเกษตร
ตลอดทั้งปี
|
การเข้าถึงแหล่งน้ำการเกษตร
|
เพียงพอ
|
ไม่เพียงพอ
|
ทั่วถึง
|
ไม่ทั่วถึง
|
ร้อยละของครัวเรือนที่เข้าถึงฯ
|
3.2) แหล่งน้ำธรรมชาติ
|
1. แม่น้ำ
|
|
|
|
|
|
|
2. ห้วย/ลำธาร
|
1
|
|
ü
|
|
ü
|
15
|
3. คลอง
|
2
|
|
ü
|
|
ü
|
0
|
4. หนองน้ำ/บึง
|
|
|
|
|
|
|
5. น้ำตก
|
|
|
|
|
|
|
6. อื่นๆ(โปรดระบุ)
6.1) .
6.2) .
6.3) .
|
|
|
|
|
|
|
3.3) แหล่งน้ำที่มนุษย์สร้างขึ้น
|
1. แก้มลิง
|
|
|
|
|
|
|
2. อ่างเก็บน้ำ
|
|
|
|
|
|
|
3. ฝาย
|
|
|
|
|
|
|
4. สระ
|
3
|
|
ü
|
|
ü
|
12
|
5. คลองชลประทาน
|
|
|
|
|
|
|
6. อื่นๆ(โปรดระบุ)
6.1 .
6.2) .
6.3) .
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
หมายเหตุ บ้านถ่อนน้อย หมู่ที่ 8 น้ำที่ใช้เพื่อการเกษตร ไม่เพียงพอช่วงเดือนเมษายน-พฤษภาคม
- บ้านตูม หมู่ที่ 9 มีแหล่งน้ำทางการเกษตร ดังนี้
แหล่งน้ำ
ทางการเกษตร
|
ความเพียงพอของปริมาณน้ำฝนที่ใช้ในการทำการเกษตร
|
ปริมาณน้ำฝนที่ตกโดยเฉลี่ยในปีที่ผ่านมา
(มิลลิเมตร) กรณีที่ทราบโปรดระบุ
|
เพียงพอ
|
ไม่เพียงพอ
|
3.1) ปริมาณน้ำฝน
|
|
ü
|
1,500 มิลลิเมตร
|
แหล่งน้ำ
ทางการเกษตร
|
ลำดับ
ความสำคัญ
|
ความเพียงพอของน้ำเพื่อการเกษตร
ตลอดทั้งปี
|
การเข้าถึงแหล่งน้ำการเกษตร
|
เพียงพอ
|
ไม่เพียงพอ
|
ทั่วถึง
|
ไม่ทั่วถึง
|
ร้อยละของครัวเรือนที่เข้าถึงฯ
|
3.2) แหล่งน้ำธรรมชาติ
|
1. แม่น้ำ
|
|
|
|
|
|
|
2. ห้วย/ลำธาร
|
2
|
|
ü
|
|
ü
|
10
|
3. คลอง
|
3
|
|
ü
|
|
ü
|
10
|
4. หนองน้ำ/บึง
|
1
|
|
ü
|
|
ü
|
50
|
5. น้ำตก
|
|
|
|
|
|
|
6. อื่นๆ(โปรดระบุ)
6.1) .
6.2) .
6.3) .
|
|
|
|
|
|
|
3.3) แหล่งน้ำที่มนุษย์สร้างขึ้น
|
1. แก้มลิง
|
|
|
|
|
|
|
2. อ่างเก็บน้ำ
|
|
|
|
|
|
|
3. ฝาย
|
|
|
|
|
|
|
4. สระ
|
|
|
|
|
|
|
5. คลองชลประทาน
|
|
|
|
|
|
|
6. อื่นๆ(โปรดระบุ)
6.1 .
6.2) .
6.3) .
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
หมายเหตุ บ้านตูม หมู่ที่ 9 น้ำที่ใช้เพื่อการเกษตร ไม่เพียงพอช่วงเดือนเมษายน-พฤษภาคม
- บ้านดอนภู่ หมู่ที่ 10 มีแหล่งน้ำทางการเกษตร ดังนี้
แหล่งน้ำ
ทางการเกษตร
|
ความเพียงพอของปริมาณน้ำฝนที่ใช้ในการทำการเกษตร
|
ปริมาณน้ำฝนที่ตกโดยเฉลี่ยในปีที่ผ่านมา
(มิลลิเมตร) กรณีที่ทราบโปรดระบุ
|
เพียงพอ
|
ไม่เพียงพอ
|
3.1) ปริมาณน้ำฝน
|
|
ü
|
1,500 มิลลิเมตร
|
แหล่งน้ำ
ทางการเกษตร
|
ลำดับ
ความสำคัญ
|
ความเพียงพอของน้ำเพื่อการเกษตร
ตลอดทั้งปี
|
การเข้าถึงแหล่งน้ำการเกษตร
|
เพียงพอ
|
ไม่เพียงพอ
|
ทั่วถึง
|
ไม่ทั่วถึง
|
ร้อยละของครัวเรือนที่เข้าถึงฯ
|
3.2) แหล่งน้ำธรรมชาติ
|
1. แม่น้ำ
|
1
|
|
ü
|
|
ü
|
30
|
2. ห้วย/ลำธาร
|
2
|
|
ü
|
|
ü
|
10
|
3. คลอง
|
|
|
|
|
|
|
4. หนองน้ำ/บึง
|
|
|
|
|
|
|
5. น้ำตก
|
|
|
|
|
|
|
6. อื่นๆ(โปรดระบุ)
6.1) .
6.2) .
6.3) .
|
|
|
|
|
|
|
3.3) แหล่งน้ำที่มนุษย์สร้างขึ้น
|
1. แก้มลิง
|
|
|
|
|
|
|
2. อ่างเก็บน้ำ
|
|
|
|
|
|
|
3. ฝาย
|
|
|
|
|
|
|
4. สระ
|
3
|
|
ü
|
|
ü
|
10
|
5. คลองชลประทาน
|
|
|
|
|
|
|
6. อื่นๆ(โปรดระบุ)
6.1 .
6.2) .
6.3) .
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
หมายเหตุ บ้านดอนภู่ หมู่ที่ 10 น้ำที่ใช้เพื่อการเกษตร ไม่เพียงพอช่วงเดือนเมษายน-พฤษภาคม
- บ้านนาหวาน หมู่ที่ 11 มีแหล่งน้ำทางการเกษตร ดังนี้
แหล่งน้ำ
ทางการเกษตร
|
ความเพียงพอของปริมาณน้ำฝนที่ใช้ในการทำการเกษตร
|
ปริมาณน้ำฝนที่ตกโดยเฉลี่ยในปีที่ผ่านมา
(มิลลิเมตร) กรณีที่ทราบโปรดระบุ
|
เพียงพอ
|
ไม่เพียงพอ
|
3.1) ปริมาณน้ำฝน
|
|
ü
|
1,500 มิลลิเมตร
|
แหล่งน้ำ
ทางการเกษตร
|
ลำดับ
ความสำคัญ
|
ความเพียงพอของน้ำเพื่อการเกษตร
ตลอดทั้งปี
|
การเข้าถึงแหล่งน้ำการเกษตร
|
เพียงพอ
|
ไม่เพียงพอ
|
ทั่วถึง
|
ไม่ทั่วถึง
|
ร้อยละของครัวเรือนที่เข้าถึงฯ
|
3.2) แหล่งน้ำธรรมชาติ
|
1. แม่น้ำ
|
|
|
|
|
|
|
2. ห้วย/ลำธาร
|
1
|
|
ü
|
|
ü
|
10
|
3. คลอง
|
2
|
|
ü
|
|
ü
|
10
|
4. หนองน้ำ/บึง
|
|
|
|
|
|
|
5. น้ำตก
|
|
|
|
|
|
|
6. อื่นๆ(โปรดระบุ)
6.1) .
6.2) .
6.3) .
|
|
|
|
|
|
|
3.3) แหล่งน้ำที่มนุษย์สร้างขึ้น
|
1. แก้มลิง
|
|
|
|
|
|
|
2. อ่างเก็บน้ำ
|
|
|
|
|
|
|
3. ฝาย
|
|
|
|
|
|
|
4. สระ
|
3
|
|
ü
|
|
ü
|
10
|
5. คลองชลประทาน
|
|
|
|
|
|
|
6. อื่นๆ(โปรดระบุ)
6.1 .
6.2) .
6.3) .
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
หมายเหตุ บ้านนาหวาน หมู่ที่ 11 น้ำที่ใช้เพื่อการเกษตร ไม่เพียงพอช่วงเดือนเมษายน-พฤษภาคม
- บ้านหนองไผ่คำ หมู่ที่ 12 มีแหล่งน้ำทางการเกษตร ดังนี้
แหล่งน้ำ
ทางการเกษตร
|
ความเพียงพอของปริมาณน้ำฝนที่ใช้ในการทำการเกษตร
|
ปริมาณน้ำฝนที่ตกโดยเฉลี่ยในปีที่ผ่านมา
(มิลลิเมตร) กรณีที่ทราบโปรดระบุ
|
เพียงพอ
|
ไม่เพียงพอ
|
3.1) ปริมาณน้ำฝน
|
|
ü
|
1,500 มิลลิเมตร
|
แหล่งน้ำ
ทางการเกษตร
|
ลำดับ
ความสำคัญ
|
ความเพียงพอของน้ำเพื่อการเกษตร
ตลอดทั้งปี
|
การเข้าถึงแหล่งน้ำการเกษตร
|
เพียงพอ
|
ไม่เพียงพอ
|
ทั่วถึง
|
ไม่ทั่วถึง
|
ร้อยละของครัวเรือนที่เข้าถึงฯ
|
3.2) แหล่งน้ำธรรมชาติ
|
1. แม่น้ำ
|
3
|
|
ü
|
|
ü
|
0
|
2. ห้วย/ลำธาร
|
1
|
|
ü
|
|
ü
|
10
|
3. คลอง
|
2
|
|
ü
|
|
ü
|
10
|
4. หนองน้ำ/บึง
|
|
|
|
|
|
|
5. น้ำตก
|
|
|
|
|
|
|
6. อื่นๆ(โปรดระบุ)
6.1) .
6.2) .
6.3) .
|
|
|
|
|
|
|
3.3) แหล่งน้ำที่มนุษย์สร้างขึ้น
|
1. แก้มลิง
|
|
|
|
|
|
|
2. อ่างเก็บน้ำ
|
|
|
|
|
|
|
3. ฝาย
|
|
|
|
|
|
|
4. สระ
|
4
|
|
ü
|
|
ü
|
10
|
5. คลองชลประทาน
|
|
|
|
|
|
|
6. อื่นๆ(โปรดระบุ)
6.1 .
6.2) .
6.3) .
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
หมายเหตุ บ้านหนองไผ่คำ หมู่ที่ 12 น้ำที่ใช้เพื่อการเกษตร ไม่เพียงพอช่วงเดือนเมษายน-พฤษภาคม
- บ้านดอนหัน หมู่ที่ 13 มีแหล่งน้ำทางการเกษตร ดังนี้
แหล่งน้ำ
ทางการเกษตร
|
ความเพียงพอของปริมาณน้ำฝนที่ใช้ในการทำการเกษตร
|
ปริมาณน้ำฝนที่ตกโดยเฉลี่ยในปีที่ผ่านมา
(มิลลิเมตร) กรณีที่ทราบโปรดระบุ
|
เพียงพอ
|
ไม่เพียงพอ
|
3.1) ปริมาณน้ำฝน
|
|
ü
|
1,500 มิลลิเมตร
|
แหล่งน้ำ
ทางการเกษตร
|
ลำดับ
ความสำคัญ
|
ความเพียงพอของน้ำเพื่อการเกษตร
ตลอดทั้งปี
|
การเข้าถึงแหล่งน้ำการเกษตร
|
เพียงพอ
|
ไม่เพียงพอ
|
ทั่วถึง
|
ไม่ทั่วถึง
|
ร้อยละของครัวเรือนที่เข้าถึงฯ
|
3.2) แหล่งน้ำธรรมชาติ
|
1. แม่น้ำ
|
|
|
|
|
|
|
2. ห้วย/ลำธาร
|
1
|
|
ü
|
|
ü
|
10
|
3. คลอง
|
2
|
|
ü
|
|
ü
|
10
|
4. หนองน้ำ/บึง
|
|
|
|
|
|
|
5. น้ำตก
|
|
|
|
|
|
|
6. อื่นๆ(โปรดระบุ)
6.1) .
6.2) .
6.3) .
|
|
|
|
|
|
|
3.3) แหล่งน้ำที่มนุษย์สร้างขึ้น
|
1. แก้มลิง
|
|
|
|
|
|
|
2. อ่างเก็บน้ำ
|
|
|
|
|
|
|
3. ฝาย
|
|
|
|
|
|
|
4. สระ
|
4
|
|
ü
|
|
ü
|
50
|
5. คลองชลประทาน
|
|
|
|
|
|
|
6. อื่นๆ(โปรดระบุ)
6.1 .
6.2) .
6.3) .
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
หมายเหตุ บ้านดอนหัน หมู่ที่ 13 น้ำที่ใช้เพื่อการเกษตร ไม่เพียงพอช่วงเดือนเมษายน-พฤษภาคม
- บ้านโนนสะอาด หมู่ที่ 15 มีแหล่งน้ำทางการเกษตร ดังนี้
แหล่งน้ำ
ทางการเกษตร
|
ความเพียงพอของปริมาณน้ำฝนที่ใช้ในการทำการเกษตร
|
ปริมาณน้ำฝนที่ตกโดยเฉลี่ยในปีที่ผ่านมา
(มิลลิเมตร) กรณีที่ทราบโปรดระบุ
|
เพียงพอ
|
ไม่เพียงพอ
|
3.1) ปริมาณน้ำฝน
|
|
ü
|
1,500 มิลลิเมตร
|
แหล่งน้ำ
ทางการเกษตร
|
ลำดับ
ความสำคัญ
|
ความเพียงพอของน้ำเพื่อการเกษตร
ตลอดทั้งปี
|
การเข้าถึงแหล่งน้ำการเกษตร
|
เพียงพอ
|
ไม่เพียงพอ
|
ทั่วถึง
|
ไม่ทั่วถึง
|
ร้อยละของครัวเรือนที่เข้าถึงฯ
|
3.2) แหล่งน้ำธรรมชาติ
|
1. แม่น้ำ
|
|
|
|
|
|
|
2. ห้วย/ลำธาร
|
1
|
|
ü
|
|
ü
|
20
|
3. คลอง
|
2
|
|
ü
|
|
ü
|
10
|
4. หนองน้ำ/บึง
|
|
|
|
|
|
|
5. น้ำตก
|
|
|
|
|
|
|
6. อื่นๆ(โปรดระบุ)
6.1) .
6.2) .
6.3) .
|
|
|
|
|
|
|
3.3) แหล่งน้ำที่มนุษย์สร้างขึ้น
|
1. แก้มลิง
|
|
|
|
|
|
|
2. อ่างเก็บน้ำ
|
|
|
|
|
|
|
3. ฝาย
|
|
|
|
|
|
|
4. สระ
|
3
|
|
ü
|
|
ü
|
20
|
5. คลองชลประทาน
|
|
|
|
|
|
|
6. อื่นๆ(โปรดระบุ)
6.1 .
6.2) .
6.3) .
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
หมายเหตุ บ้านโนนสะอาด หมู่ที่ 15 น้ำที่ใช้เพื่อการเกษตร ไม่เพียงพอช่วงเดือนเมษายน-พฤษภาคม
- บ้านหนองใส 2 หมู่ที่ 17 มีแหล่งน้ำทางการเกษตร ดังนี้
แหล่งน้ำ
ทางการเกษตร
|
ความเพียงพอของปริมาณน้ำฝนที่ใช้ในการทำการเกษตร
|
ปริมาณน้ำฝนที่ตกโดยเฉลี่ยในปีที่ผ่านมา
(มิลลิเมตร) กรณีที่ทราบโปรดระบุ
|
เพียงพอ
|
ไม่เพียงพอ
|
3.1) ปริมาณน้ำฝน
|
|
ü
|
1,500 มิลลิเมตร
|
แหล่งน้ำ
ทางการเกษตร
|
ลำดับ
ความสำคัญ
|
ความเพียงพอของน้ำเพื่อการเกษตร
ตลอดทั้งปี
|
การเข้าถึงแหล่งน้ำการเกษตร
|
เพียงพอ
|
ไม่เพียงพอ
|
ทั่วถึง
|
ไม่ทั่วถึง
|
ร้อยละของครัวเรือนที่เข้าถึงฯ
|
3.2) แหล่งน้ำธรรมชาติ
|
1. แม่น้ำ
|
|
|
|
|
|
|
2. ห้วย/ลำธาร
|
1
|
|
ü
|
|
ü
|
10
|
3. คลอง
|
2
|
|
ü
|
|
ü
|
10
|
4. หนองน้ำ/บึง
|
|
|
|
|
|
|
5. น้ำตก
|
|
|
|
|
|
|
6. อื่นๆ(โปรดระบุ)
6.1) ประปาหมู่บ้าน .
6.2) .
6.3) .
|
3
|
ü
|
|
|
ü
|
20
|
3.3) แหล่งน้ำที่มนุษย์สร้างขึ้น
|
1. แก้มลิง
|
|
|
|
|
|
|
2. อ่างเก็บน้ำ
|
|
|
|
|
|
|
3. ฝาย
|
|
|
|
|
|
|
4. สระ
|
4
|
|
ü
|
|
ü
|
0
|
5. คลองชลประทาน
|
|
|
|
|
|
|
6. อื่นๆ(โปรดระบุ)
6.1 .
6.2) .
6.3) .
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
หมายเหตุ บ้านหนองใส 2 หมู่ที่ 17 น้ำที่ใช้เพื่อการเกษตร ไม่เพียงพอช่วงเดือนเมษายน-พฤษภาคม
- บ้านโนนกอก หมู่ที่ 18 มีแหล่งน้ำทางการเกษตร ดังนี้
แหล่งน้ำ
ทางการเกษตร
|
ความเพียงพอของปริมาณน้ำฝนที่ใช้ในการทำการเกษตร
|
ปริมาณน้ำฝนที่ตกโดยเฉลี่ยในปีที่ผ่านมา
(มิลลิเมตร) กรณีที่ทราบโปรดระบุ
|
เพียงพอ
|
ไม่เพียงพอ
|
3.1) ปริมาณน้ำฝน
|
|
ü
|
1,500 มิลลิเมตร
|
แหล่งน้ำ
ทางการเกษตร
|
ลำดับ
ความสำคัญ
|
ความเพียงพอของน้ำเพื่อการเกษตร
ตลอดทั้งปี
|
การเข้าถึงแหล่งน้ำการเกษตร
|
เพียงพอ
|
ไม่เพียงพอ
|
ทั่วถึง
|
ไม่ทั่วถึง
|
ร้อยละของครัวเรือนที่เข้าถึงฯ
|
3.2) แหล่งน้ำธรรมชาติ
|
1. แม่น้ำ
|
|
|
|
|
|
|
2. ห้วย/ลำธาร
|
1
|
|
ü
|
|
ü
|
18
|
3. คลอง
|
|
|
|
|
|
|
4. หนองน้ำ/บึง
|
|
|
|
|
|
|
5. น้ำตก
|
|
|
|
|
|
|
6. อื่นๆ(โปรดระบุ)
6.1) .
6.2) .
6.3) .
|
|
|
|
|
|
|
3.3) แหล่งน้ำที่มนุษย์สร้างขึ้น
|
1. แก้มลิง
|
|
|
|
|
|
|
2. อ่างเก็บน้ำ
|
|
|
|
|
|
|
3. ฝาย
|
2
|
|
ü
|
|
ü
|
10
|
4. สระ
|
3
|
|
ü
|
|
ü
|
10
|
5. คลองชลประทาน
|
|
|
|
|
|
|
6. อื่นๆ(โปรดระบุ)
6.1 .
6.2) .
6.3) .
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
หมายเหตุ บ้านโนนกอก หมู่ที่ 18 น้ำที่ใช้เพื่อการเกษตร ไม่เพียงพอช่วงเดือนเมษายน-พฤษภาคม
7.4 ข้อมูลด้านแหล่งน้ำกิน น้ำใช้ (หรือน้ำเพื่อการอุปโภค บริโภค)
(1) บ้านหนองนาคำ หมู่ที่ 1 มีแหล่งน้ำกิน น้ำใช้ (หรือน้ำเพื่อการอุปโภค บริโภค) ดังนี้
แหล่งน้ำ
|
ไม่มี
|
มี
|
ทั่วถึงหรือไม่
|
เพียงพอ
|
ไม่เพียงพอ
|
ทั่วถึง
|
ไม่ทั่วถึง
|
ร้อยละของครัวเรือนที่เข้าถึง
|
4.1 บ่อบาดาลสาธารณะ
|
ü
|
|
|
|
|
|
4.2 บ่อน้ำตื้นสาธารณะ
|
|
|
ü
|
|
ü
|
10
|
4.3 ประปาหมู่บ้าน (ขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น)
|
|
|
ü
|
|
ü
|
10
|
4.4 ระบบประปา (การประปาส่วนภูมิภาค)
|
ü
|
|
|
|
|
|
4.5 แหล่งน้ำธรรมชาติ
|
|
|
ü
|
|
ü
|
10
|
4.6 อื่นๆ (โปรดระบุ)
4.6.1) ลำห้วยเชียงรวง .
4.6.2) บ่อน้ำประปา .
4.6.3) .
|
|
ü
ü
|
|
ü
ü
|
|
50
10
|
(2) บ้านโก่ย หมู่ที่ 2 มีแหล่งน้ำกิน น้ำใช้ (หรือน้ำเพื่อการอุปโภค บริโภค) ดังนี้
แหล่งน้ำ
|
ไม่มี
|
มี
|
ทั่วถึงหรือไม่
|
เพียงพอ
|
ไม่เพียงพอ
|
ทั่วถึง
|
ไม่ทั่วถึง
|
ร้อยละของครัวเรือนที่เข้าถึง
|
4.1 บ่อบาดาลสาธารณะ
|
ü
|
|
|
|
|
|
4.2 บ่อน้ำตื้นสาธารณะ
|
|
|
ü
|
|
ü
|
10
|
4.3 ประปาหมู่บ้าน (ขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น)
|
|
|
ü
|
|
ü
|
10
|
4.4 ระบบประปา (การประปาส่วนภูมิภาค)
|
ü
|
|
|
|
|
|
4.5 แหล่งน้ำธรรมชาติ
|
ü
|
|
|
|
|
|
4.6 อื่นๆ (โปรดระบุ)
4.6.1) .
4.6.2) .
4.6.3) .
|
|
|
|
|
|
|
(3) บ้านหนองใส หมู่ที่ 3 มีแหล่งน้ำกิน น้ำใช้ (หรือน้ำเพื่อการอุปโภค บริโภค) ดังนี้
แหล่งน้ำ
|
ไม่มี
|
มี
|
ทั่วถึงหรือไม่
|
เพียงพอ
|
ไม่เพียงพอ
|
ทั่วถึง
|
ไม่ทั่วถึง
|
ร้อยละของครัวเรือนที่เข้าถึง
|
4.1 บ่อบาดาลสาธารณะ
|
ü
|
|
|
|
|
|
4.2 บ่อน้ำตื้นสาธารณะ
|
|
|
ü
|
|
ü
|
10
|
4.3 ประปาหมู่บ้าน (ขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น)
|
ü
|
|
|
|
|
|
4.4 ระบบประปา (การประปาส่วนภูมิภาค)
|
|
|
ü
|
ü
|
|
10
|
4.5 แหล่งน้ำธรรมชาติ
|
|
|
ü
|
ü
|
|
10
|
4.6 อื่นๆ (โปรดระบุ)
4.6.1) .
4.6.2) .
4.6.3) .
|
|
|
|
|
|
|
(4) บ้านหนองหว้า หมู่ที่ 4 มีแหล่งน้ำกิน น้ำใช้ (หรือน้ำเพื่อการอุปโภค บริโภค) ดังนี้
แหล่งน้ำ
|
ไม่มี
|
มี
|
ทั่วถึงหรือไม่
|
เพียงพอ
|
ไม่เพียงพอ
|
ทั่วถึง
|
ไม่ทั่วถึง
|
ร้อยละของครัวเรือนที่เข้าถึง
|
4.1 บ่อบาดาลสาธารณะ
|
ü
|
|
|
|
|
|
4.2 บ่อน้ำตื้นสาธารณะ
|
|
|
ü
|
|
ü
|
10
|
4.3 ประปาหมู่บ้าน (ขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น)
|
|
|
ü
|
|
ü
|
10
|
4.4 ระบบประปา (การประปาส่วนภูมิภาค)
|
ü
|
|
|
|
|
|
4.5 แหล่งน้ำธรรมชาติ
|
|
|
ü
|
|
ü
|
10
|
4.6 อื่นๆ (โปรดระบุ)
4.6.1) .
4.6.2) .
4.6.3) .
|
|
|
|
|
|
|
(5) บ้านหนองไผ่ หมู่ที่ 5 มีแหล่งน้ำกิน น้ำใช้ (หรือน้ำเพื่อการอุปโภค บริโภค) ดังนี้
แหล่งน้ำ
|
ไม่มี
|
มี
|
ทั่วถึงหรือไม่
|
เพียงพอ
|
ไม่เพียงพอ
|
ทั่วถึง
|
ไม่ทั่วถึง
|
ร้อยละของครัวเรือนที่เข้าถึง
|
4.1 บ่อบาดาลสาธารณะ
|
|
|
ü
|
|
ü
|
10
|
4.2 บ่อน้ำตื้นสาธารณะ
|
|
|
ü
|
|
ü
|
10
|
4.3 ประปาหมู่บ้าน (ขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น)
|
|
|
ü
|
|
ü
|
10
|
4.4 ระบบประปา (การประปาส่วนภูมิภาค)
|
ü
|
|
|
|
|
|
4.5 แหล่งน้ำธรรมชาติ
|
ü
|
|
|
|
|
|
4.6 อื่นๆ (โปรดระบุ)
4.6.1) .
4.6.2) .
4.6.3) .
|
|
|
|
|
|
|
(6) บ้านหนองแก หมู่ที่ 6 มีแหล่งน้ำกิน น้ำใช้ (หรือน้ำเพื่อการอุปโภค บริโภค) ดังนี้
แหล่งน้ำ
|
ไม่มี
|
มี
|
ทั่วถึงหรือไม่
|
เพียงพอ
|
ไม่เพียงพอ
|
ทั่วถึง
|
ไม่ทั่วถึง
|
ร้อยละของครัวเรือนที่เข้าถึง
|
4.1 บ่อบาดาลสาธารณะ
|
|
|
ü
|
|
ü
|
10
|
4.2 บ่อน้ำตื้นสาธารณะ
|
|
|
ü
|
|
ü
|
10
|
4.3 ประปาหมู่บ้าน (ขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น)
|
|
|
ü
|
|
ü
|
10
|
4.4 ระบบประปา (การประปาส่วนภูมิภาค)
|
ü
|
|
|
|
|
|
4.5 แหล่งน้ำธรรมชาติ
|
ü
|
|
|
|
|
|
4.6 อื่นๆ (โปรดระบุ)
4.6.1) .
4.6.2) .
4.6.3) .
|
|
|
|
|
|
|
(7) บ้านจำปา หมู่ที่ 7 มีแหล่งน้ำกิน น้ำใช้ (หรือน้ำเพื่อการอุปโภค บริโภค) ดังนี้
แหล่งน้ำ
|
ไม่มี
|
มี
|
ทั่วถึงหรือไม่
|
เพียงพอ
|
ไม่เพียงพอ
|
ทั่วถึง
|
ไม่ทั่วถึง
|
ร้อยละของครัวเรือนที่เข้าถึง
|
4.1 บ่อบาดาลสาธารณะ
|
ü
|
|
|
|
|
|
4.2 บ่อน้ำตื้นสาธารณะ
|
|
|
ü
|
|
ü
|
10
|
4.3 ประปาหมู่บ้าน (ขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น)
|
|
|
ü
|
|
ü
|
10
|
4.4 ระบบประปา (การประปาส่วนภูมิภาค)
|
ü
|
|
|
|
|
|
4.5 แหล่งน้ำธรรมชาติ
|
ü
|
|
|
|
|
|
4.6 อื่นๆ (โปรดระบุ)
4.6.1) น้ำถังจากโรงงาน .
4.6.2) .
4.6.3) .
|
|
|
|
|
|
|
(8) บ้านถ่อนน้อย หมู่ที่ 8 มีแหล่งน้ำกิน น้ำใช้ (หรือน้ำเพื่อการอุปโภค บริโภค) ดังนี้
แหล่งน้ำ
|
ไม่มี
|
มี
|
ทั่วถึงหรือไม่
|
เพียงพอ
|
ไม่เพียงพอ
|
ทั่วถึง
|
ไม่ทั่วถึง
|
ร้อยละของครัวเรือนที่เข้าถึง
|
4.1 บ่อบาดาลสาธารณะ
|
|
|
ü
|
|
ü
|
55
|
4.2 บ่อน้ำตื้นสาธารณะ
|
ü
|
|
|
|
|
|
4.3 ประปาหมู่บ้าน (ขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น)
|
|
|
ü
|
|
ü
|
65
|
4.4 ระบบประปา (การประปาส่วนภูมิภาค)
|
ü
|
|
|
|
|
|
4.5 แหล่งน้ำธรรมชาติ
|
|
|
ü
|
|
ü
|
40
|
4.6 อื่นๆ (โปรดระบุ)
4.6.1) .
4.6.2) .
4.6.3) .
|
|
|
|
|
|
|
(9) บ้านตูม หมู่ที่ 9 มีแหล่งน้ำกิน น้ำใช้ (หรือน้ำเพื่อการอุปโภค บริโภค) ดังนี้
แหล่งน้ำ
|
ไม่มี
|
มี
|
ทั่วถึงหรือไม่
|
เพียงพอ
|
ไม่เพียงพอ
|
ทั่วถึง
|
ไม่ทั่วถึง
|
ร้อยละของครัวเรือนที่เข้าถึง
|
4.1 บ่อบาดาลสาธารณะ
|
ü
|
|
|
|
|
|
4.2 บ่อน้ำตื้นสาธารณะ
|
|
|
ü
|
|
ü
|
10
|
4.3 ประปาหมู่บ้าน (ขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น)
|
|
ü
|
|
|
ü
|
10
|
4.4 ระบบประปา (การประปาส่วนภูมิภาค)
|
|
|
ü
|
|
ü
|
10
|
4.5 แหล่งน้ำธรรมชาติ
|
ü
|
|
|
|
|
|
4.6 อื่นๆ (โปรดระบุ)
4.6.1) .
4.6.2) .
4.6.3) .
|
|
|
|
|
|
|
(10) บ้านดอนภู่ หมู่ที่ 10 มีแหล่งน้ำกิน น้ำใช้ (หรือน้ำเพื่อการอุปโภค บริโภค) ดังนี้
แหล่งน้ำ
|
ไม่มี
|
มี
|
ทั่วถึงหรือไม่
|
เพียงพอ
|
ไม่เพียงพอ
|
ทั่วถึง
|
ไม่ทั่วถึง
|
ร้อยละของครัวเรือนที่เข้าถึง
|
4.1 บ่อบาดาลสาธารณะ
|
|
|
ü
|
|
|
10
|
4.2 บ่อน้ำตื้นสาธารณะ
|
|
|
ü
|
|
ü
|
10
|
4.3 ประปาหมู่บ้าน (ขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น)
|
|
|
ü
|
|
ü
|
10
|
4.4 ระบบประปา (การประปาส่วนภูมิภาค)
|
ü
|
|
|
|
|
|
4.5 แหล่งน้ำธรรมชาติ
|
ü
|
|
|
|
|
|
4.6 อื่นๆ (โปรดระบุ)
4.6.1) .
4.6.2) .
4.6.3) .
|
|
|
|
|
|
|
(11) บ้านนาหวาน หมู่ที่ 11 มีแหล่งน้ำกิน น้ำใช้ (หรือน้ำเพื่อการอุปโภค บริโภค) ดังนี้
แหล่งน้ำ
|
ไม่มี
|
มี
|
ทั่วถึงหรือไม่
|
เพียงพอ
|
ไม่เพียงพอ
|
ทั่วถึง
|
ไม่ทั่วถึง
|
ร้อยละของครัวเรือนที่เข้าถึง
|
4.1 บ่อบาดาลสาธารณะ
|
ü
|
|
|
|
|
|
4.2 บ่อน้ำตื้นสาธารณะ
|
ü
|
|
|
|
|
|
4.3 ประปาหมู่บ้าน (ขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น)
|
ü
|
|
|
|
ü
|
10
|
4.4 ระบบประปา (การประปาส่วนภูมิภาค)
|
|
|
ü
|
|
ü
|
10
|
4.5 แหล่งน้ำธรรมชาติ
|
|
|
ü
|
|
ü
|
10
|
4.6 อื่นๆ (โปรดระบุ)
4.6.1) .
4.6.2) .
4.6.3) .
|
|
|
|
|
|
|
(12) บ้านหนองไผ่คำ หมู่ที่ 12 มีแหล่งน้ำกิน น้ำใช้ (หรือน้ำเพื่อการอุปโภค บริโภค) ดังนี้
แหล่งน้ำ
|
ไม่มี
|
มี
|
ทั่วถึงหรือไม่
|
เพียงพอ
|
ไม่เพียงพอ
|
ทั่วถึง
|
ไม่ทั่วถึง
|
ร้อยละของครัวเรือนที่เข้าถึง
|
4.1 บ่อบาดาลสาธารณะ
|
ü
|
|
|
|
|
|
4.2 บ่อน้ำตื้นสาธารณะ
|
ü
|
|
|
|
|
|
4.3 ประปาหมู่บ้าน (ขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น)
|
|
|
ü
|
|
ü
|
80
|
4.4 ระบบประปา (การประปาส่วนภูมิภาค)
|
ü
|
|
|
|
|
|
4.5 แหล่งน้ำธรรมชาติ
|
ü
|
|
|
|
|
|
4.6 อื่นๆ (โปรดระบุ)
4.6.1) .
4.6.2) .
4.6.3) .
|
|
|
|
|
|
|
(13) บ้านดอนหัน หมู่ที่ 13 มีแหล่งน้ำกิน น้ำใช้ (หรือน้ำเพื่อการอุปโภค บริโภค) ดังนี้
แหล่งน้ำ
|
ไม่มี
|
มี
|
ทั่วถึงหรือไม่
|
เพียงพอ
|
ไม่เพียงพอ
|
ทั่วถึง
|
ไม่ทั่วถึง
|
ร้อยละของครัวเรือนที่เข้าถึง
|
4.1 บ่อบาดาลสาธารณะ
|
ü
|
|
|
|
|
|
4.2 บ่อน้ำตื้นสาธารณะ
|
ü
|
|
|
|
|
|
4.3 ประปาหมู่บ้าน (ขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น)
|
ü
|
|
|
|
|
|
4.4 ระบบประปา (การประปาส่วนภูมิภาค)
|
|
|
ü
|
|
ü
|
80
|
4.5 แหล่งน้ำธรรมชาติ
|
ü
|
|
|
|
|
|
4.6 อื่นๆ (โปรดระบุ)
4.6.1) .
4.6.2) .
4.6.3) .
|
|
|
|
|
|
|
(14) บ้านโนนสะอาด หมู่ที่ 15 มีแหล่งน้ำกิน น้ำใช้ (หรือน้ำเพื่อการอุปโภค บริโภค) ดังนี้
แหล่งน้ำ
|
ไม่มี
|
มี
|
ทั่วถึงหรือไม่
|
เพียงพอ
|
ไม่เพียงพอ
|
ทั่วถึง
|
ไม่ทั่วถึง
|
ร้อยละของครัวเรือนที่เข้าถึง
|
4.1 บ่อบาดาลสาธารณะ
|
ü
|
|
|
|
|
|
4.2 บ่อน้ำตื้นสาธารณะ
|
ü
|
|
|
|
|
|
4.3 ประปาหมู่บ้าน (ขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น)
|
|
|
ü
|
|
ü
|
80
|
4.4 ระบบประปา (การประปาส่วนภูมิภาค)
|
ü
|
|
|
|
|
|
4.5 แหล่งน้ำธรรมชาติ
|
ü
|
|
|
|
|
|
4.6 อื่นๆ (โปรดระบุ)
4.6.1) .
4.6.2) .
4.6.3) .
|
|
|
|
|
|
|
(15) บ้านหนองใส 2 หมู่ที่ 17 มีแหล่งน้ำกิน น้ำใช้ (หรือน้ำเพื่อการอุปโภค บริโภค) ดังนี้
แหล่งน้ำ
|
ไม่มี
|
มี
|
ทั่วถึงหรือไม่
|
เพียงพอ
|
ไม่เพียงพอ
|
ทั่วถึง
|
ไม่ทั่วถึง
|
ร้อยละของครัวเรือนที่เข้าถึง
|
4.1 บ่อบาดาลสาธารณะ
|
ü
|
|
|
|
|
|
4.2 บ่อน้ำตื้นสาธารณะ
|
ü
|
|
|
|
|
|
4.3 ประปาหมู่บ้าน (ขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น)
|
ü
|
|
|
|
|
|
4.4 ระบบประปา (การประปาส่วนภูมิภาค)
|
|
|
ü
|
|
ü
|
10
|
4.5 แหล่งน้ำธรรมชาติ
|
ü
|
|
|
|
|
|
4.6 อื่นๆ (โปรดระบุ)
4.6.1) .
4.6.2) .
4.6.3) .
|
|
|
|
|
|
|
(16) บ้านโนนกอก หมู่ที่ 18 มีแหล่งน้ำกิน น้ำใช้ (หรือน้ำเพื่อการอุปโภค บริโภค) ดังนี้
แหล่งน้ำ
|
ไม่มี
|
มี
|
ทั่วถึงหรือไม่
|
เพียงพอ
|
ไม่เพียงพอ
|
ทั่วถึง
|
ไม่ทั่วถึง
|
ร้อยละของครัวเรือนที่เข้าถึง
|
4.1 บ่อบาดาลสาธารณะ
|
ü
|
|
|
|
|
|
4.2 บ่อน้ำตื้นสาธารณะ
|
|
|
ü
|
|
ü
|
10
|
4.3 ประปาหมู่บ้าน (ขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น)
|
|
|
ü
|
|
ü
|
95
|
4.4 ระบบประปา (การประปาส่วนภูมิภาค)
|
ü
|
|
|
|
|
|
4.5 แหล่งน้ำธรรมชาติ
|
ü
|
|
|
|
|
|
4.6 อื่นๆ (โปรดระบุ)
4.6.1) .
4.6.2) .
4.6.3) .
|
|
|
|
|
|
|
8. ศาสนา ประเพณี วัฒนธรรม
8.1 การนับถือศาสนา
ประชากรในจังหวัดอุดรธานีส่วนใหญ่นับถือศาสนาพุทธ นิยมไปวัดหรือพุทธศาสนสถาน เพื่อไปทำบุญหรือประกอบพิธีกรรม ในวันสำคัญต่างๆ เช่นเดียวกับพุทธศาสนิกชนตำบลอื่น ได้แก่ วันธรรมสวนะ, วันมาฆบูชา, วันวิสาขบูชา วันเข้าพรรษา, วันออกพรรษา, วันอาสาฬหบูชา บุญเดือนสาม วันสารท บุญมหาชาติ บุญบั้งไฟ บุญข้าวจี่ และเทศกาลประเพณีสำคัญ เช่น วันขึ้นปีใหม่ วันสงกรานต์ ประเพณีสาร์ทเดือนสิบ เป็นต้น และที่สำคัญประชาชนนำหลักธรรมทางพระพุทธศาสนาเป็นแนวทางปฏิบัติ ในการดำเนินชีวิตและปฏิบัติงาน สร้างความมั่นคงในสังคมได้ดี ตลอดมา
มีประชากรบางส่วนที่นับถือศาสนาคริสตและอิสลาม ได้อยู่ร่วมในสังคมอย่างดี ยังคงให้เกียรติปฏิบัติงานร่วมกันอย่างดี ปฏิบัติศาสนกิจตามที่นับถืออย่างสมบูรณ์
ตำบลหนองนาคำ มีศาสนสถานทางพุทธศาสนาให้บริการแก่ประชาชน จำนวน 16 วัด ดังนี้
- วัดศรีทัศน์ ตั้งอยู่ที่บ้านหนองนาคำ หมู่ที่ 1
- วัดศิริสุขาภิบาล ตั้งอยู่ที่บ้านโก่ย หมู่ที่ 2
- วัดสีชมพูบูรพาราม ตั้งอยู่ที่บ้านหนองหว้า หมู่ที่ 4
- วัดป่าก้าว ตั้งอยู่ที่บ้านหนองหว้า หมู่ที่ 4
- วัดเวฬุวัน ตั้งอยู่ที่บ้านหนองไผ่ หมู่ที่ 5
- วัดศรีสว่างวงค์ ตั้งอยู่ที่บ้านหนองแก หมู่ที่ 6
- วัดศรีรัตนนิมิต ตั้งอยู่ที่บ้านหนองแก หมู่ที่ 6
- วัดศรีสว่างเกษตรสุข ตั้งอยู่ที่บ้านจำปา หมู่ที่ 7
- วัดนิโรธพิมพาราม ตั้งอยู่ที่บ้านจำปา หมู่ที่ 7
- วัดราชบำรุงจิต ตั้งอยู่ที่บ้านถ่อนน้อย หมู่ที่ 8
- วัดศรีจอมทอง ตั้งอยู่ที่บ้านตูม หมู่ที่ 9
- วัดป่าดอนภู่ ตั้งอยู่ที่บ้านดอนภู่ หมู่ที่ 10
- วัดป่าหนองไผ่คำ ตั้งอยู่ที่บ้านหนองไผ่คำ หมู่ที่ 12
- วัดป่าทองบางพุทธาราม ตั้งอยู่ที่บ้านดอนหัน หมู่ที่ 13
- วัดดงสระพังทอง ตั้งอยู่ที่บ้านหนองใส2 หมู่ที่ 17
16. วัดป่าหนองยาง ตั้งอยู่ที่บ้านโนนกอก หมู่ที่ 18
8.2 ประเพณีและงานประจำปี
ประเพณีและงานประจำปีของตำบลหนองนาคำ
ประเพณีที่สำคัญ
ประเพณีวันสารทเดือนสิบ เป็นประเพณีทำบุญ เพื่ออุทิศส่วนกุศลให้กับบรรพบุรุษที่ล่วงลับไปแล้ว ทุกปีเมื่อถึงวันสารทเดือนสิบ (แรม ๑๕ ค่ำ เดือน ๑๐) ชาวบ้านในชุมชนจะชักชวนญาติพี่น้องไปวัดเพื่อร่วมกันทำบุญอุทิศส่วนกุศลไปให้บรรพชนที่ล่วงลับไปแล้ว นำอาหารคาวหวาน ไปถวายพระที่วัด ฟังพระธรรมเทศนา และถวายภัตตาหารเพลแด่พระภิกษุ จากนั้นก็จะนำอาหาร ส่วนหนึ่งใส่กระทงเปรต นำไปตั้งในสถานที่ที่ทางวัดได้จัดเตรียมไว้ให้เพื่อเป็นการเซ่นไหว้วิญญาณ ผู้ที่ล่วงลับไปแล้ว จากนั้นจะนำอาหารส่วนหนึ่งไปแจกชาวไทยใหม่
แห่หลวงปู่ทองคำ สรงน้ำหลวงปู่ทองคำ งานวันสงกรานต์ ซึ่งเป็นประเพณีไทยที่ สืบต่อกันมายาวนาน หลวงปู่ทองคำเป็นสิ่งศักดิ์สิทธิ์ที่ชาวตำบลหนองนาคำนับถือและศรัทธาคู่บ้านหนองนาคำ
- ประเพณีวันขึ้นปีใหม่ ประมาณเดือนมกราคม
- ประเพณีบุญผะเหวด ประมาณเดือนเมษายน
- ประเพณีทำบุญกลางบ้าน ประมาณเดือนพฤษภาคม
- ประเพณีวันสงกรานต์ ประมาณเดือนเมษายน
- ประเพณีลอยกระทง ประมาณเดือนตุลาคม-พฤศจิกายน
- ประเพณีวันเข้าพรรษา ออกพรรษา ประมาณเดือน กรกฎาคม ตุลาคม พฤศจิกายน
8.3 ภูมิปัญญาท้องถิ่น ภาษาถิ่น
- ภูมิปัญญาท้องถิ่น ประชาชนในองค์การบริหารส่วนตำบลหนองนาคำได้อนุรักษ์ภูมิปัญญาท้องถิ่น ได้แก่ กลุ่มทอผ้าบ้านโนนกอก วิธีการทำเครื่องจักสารใช้สำหรับในครัวเรือน วิธีการเลี้ยงไหมและการทอผ้าไหม วิธีการทอเสื่อจากต้นกก และวิธีการจับปลาธรรมชาติ
- ภาษาถิ่น ของชาวองค์การบริหารส่วนตำบลหนองนาคำ ส่วนมากร้อยละ ๙๐ % ใช้
ภาษาอิสาน ในการสื่อสารกัน
8.4 สินค้าพื้นเมืองและของที่ระลึก
สินค้าพื้นเมืองและของที่ระลึกขององค์การบริหารส่วนตำบลหนองนาคำ ประชาชนในเขตองค์การบริหารส่วนตำบลหนองนาคำได้ผลิตของใช้พื้นเมืองขึ้นใช้ในครัวเรือนและเหลือเอาไว้จำหน่วยบ้าง ได้แก่ เสื่อที่ทอจากต้นกก ผ้าที่ทอจากผ้าฝ่ายและผ้าไหม เครื่องจักรสานที่ทำจากไม้ไผ่
9. ทรัพยากรธรรมชาติ
9.1 ทรัพยากรน้ำ
ทรัพยากรแหล่งน้ำที่สำคัญในองค์การบริหารส่วนตำบลหนองนาคำ ที่ใช่ในการอุปโภค-บริโภค เป็นน้ำที่ได้จากน้ำฝน ซึ่งจะต้องนำมาผ่านกระบวนการของระบบประปา สำหรับน้ำใต้ดินมีปริมาณน้อย ไม่สามารถนำขึ้นมาใช้ให้พอเพียงได้ แหล่งน้ำในองค์การบริหารส่วนตำบลหนองนาคำ ได้แก่
- ลำห้วย เช่น ห้วยเชียงรวง ห้วยภู่ ห้วยโสกโปร่ง ห้วยน้อย ห้วยจาง ห้วยหิน
- หนองน้ำ
- สระ
9.2 ทรัพยากรป่าไม้
ทรัพยากรป่าไม้ขององค์การบริหารส่วนตำบลหนองนาคำ ทั้งหมดมีพื้นที่ประมาณ 68,750 ไร่ สภาพป่าไม้ส่วนใหญ่
เป็นป่าไม้เบญจพรรณ มีสภาพเป็นป่าโปร่ง ป่าไม้ที่มีในพื้นที่ได้แก่ ป่าสงวนแห่งชาติ ป่าช้าสาธารณะ เป็นต้น
9.3 ทรัพยากรภูเขา
ในเขตองค์การบริหารส่วนตำบลหนองนาคำ ไม่มีภูเขา
9.4 คุณภาพของทรัพยากรธรรมชาติ
ในพื้นที่ขององค์การบริหารส่วนตำบลหนองนาคำ ส่วนมากเป็นพื้นที่สำหรับเพาะปลูก ที่อยู่อาศัย ร้านค้า สถานประกอบการ ตามลำดับ และมีพื้นที่ที่เป็นพื้นที่สาธารณะ ทรัพยากรธรรมชาติในพื้นที่ ก็ได้แก่ ดิน น้ำ ต้นไม้ อากาศที่ไม่มีมลพิษ น้ำในการเกษตรก็ต้องรอฤดูฝน มีแหล่งน้ำใช้ในการเกษตรไม่เพียงพอ ปัญหาคือยังไม่สามารถหาแหล่งน้ำสำหรับการเกษตรได้เพิ่มขึ้น เพราะพื้นที่ส่วนมากเป็นของประชาชน เอกชน ปัญหาด้านขยะ เมื่อชุมชนแออัดขยะก็มากขึ้น การแก้ไขปัญหา องค์การบริหารส่วนตำบลหนองนาคำได้จัดทำโครงการเพื่อแก้ปัญหาให้กับประชาชนและเป็นไปตามความต้องการของประชาชน เช่น โครงการจัดหาถังขยะรองรับขยะให้ครอบคลุมทั้งพื้นที่ โครงการปลูกต้นไม้ในวันสำคัญต่างๆ ในพื้นที่ของตนเองและที่สาธารณะรวมทั้งปรับปรุงสภาพภูมิทัศน์ของเมืองให้ร่มรื่นสวยงาม ให้เป็นเมืองน่าอยู่ เป็นที่พักผ่อนหย่อนใจของประชาชน ฯลฯ
10. อื่นๆ(ถ้ามีระบุด้วย)
๑๐.๑ สรุปผลการสำรวจข้อมูลพื้นฐานในเขตตำบล ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๙
ตามที่องค์การบริหารส่วนตำบลหนองนาคำ ได้ดำเนินโครงการสำรวจข้อมูลพื้นฐานในเขตองค์การบริหารส่วนตำบลหนองนาคำ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๙ เพื่อนำผลการสำรวจมาพิจารณาแก้ไขปัญหาที่เกิดขึ้นให้แก่ชุมชน ผลการสำรวจพบว่าประชาชนในเขตเทศบาลนั้น ไม่ผ่านเกณฑ์การสำรวจ ดังนี้
๑) ประชาชนกรอายุตั้งแต่ ๓๕ ขึ้นไป ไม่ได้ตรวจสุขภาพประจำปี
๒) ประชากรที่สูบบุหรี่
๓) ประชากรที่ดื่มสุรา
๔) ครัวเรือนมีรายได้เฉลี่ยต่อปีต่ำกว่า ๓๐,๐๐๐ บาท
ผลการสำรวจดังกล่าว ถือว่าเป็นปัญหาเร่งด่วนที่จะต้องแก้ไข
การแก้ไขปัญหา
๑) ส่งเสริม สนับสนุนให้ประชาชนสนใจในสุขภาพมากขึ้น โดยการจัดโครงการ/กิจกรรมต่างๆ ให้เห็นถึงผลดีของการรักษาสุขภาพ
๒) รณรงค์ ส่งเสริม จัดโครงการ/กิจกรรมงดสูบบุหรี่ – ดื่มสุรา ลด ละ เลิก เพื่อให้ประชาชนเกิด
ความตะหนักถึงโทษของการสูบบุหรี่ – ดื่มสุรา
๓) ส่งเสริมการประกอบอาชีพต่างๆ ให้กับประชาชน เพื่อเพิ่มรายได้ แก้ไขปัญหาความยากจนในชุมชน
๑๐.2 การแก้ไขปัญหา
๑) สร้างความเข้มแข็งให้กับชุมชน โดยร่วมมือกับทุกภาคส่วน ไม่ว่าจะเป็น อำเภอ ตำรวจ โรงพยาบาล สาธารณสุข ผู้นำชุมชน ร่วมทำกิจกรรมต่างๆ กับชุมชน ให้ประชาชนเกิดความไว้วางใจและได้รับความคุ้มครองทางสังคม มีความเป็นกลาง รับทราบปัญหาและเร่งแก้ไข
๒) อำนวยความสะดวก ประสานงาน ให้ประชาชนมีโอกาสเข้าถึงแหล่งเงินทุน
๓) ร่วมมือกับอำเภอ เกษตรอำเภอ ส่งเสริมให้ประชาชนมีความรู้ในการใช้ประโยชน์จากดินและน้ำให้เหมาะสมกับพื้นที่ของชุมชน เพื่อผลิกวิกฤตให้เป็นโอกาส
๔) ร่วมมือกับสาธารณสุข โรงพยาบาล โรงเรียน ส่งเสริม รณรง ป้องกัน สุขภาพและอนามัยของประชาชน ส่งเสริม จัดกิจกรรมการกีฬาในชุมชน
๕) ส่งเสริม สนับสนุน เปิดโอกาสให้เด็กได้รับการศึกษา จัดกิจกรรมให้ความรู้ต่างๆ
สื่อโซเชียล